dc.contributor.author |
ฉลองชัย ธีวสุทรสกุล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-02-03T03:33:59Z |
|
dc.date.available |
2020-02-03T03:33:59Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3755 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์การวิจัย
1. ศึกษาแนวทางการนำแนวคิดการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery learning) และแนวคิดห้องเรียนกลับทาง (Flipped classroom) ประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา
2. พัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา ตามแนวคิดการเรียนแบบรอบรู้ และแนวคิดห้องเรียนกลับทาง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
3. ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนฯ ที่เกิดกับผู้เรียน โดยเปรียบเทียบก่อนทดลองและหลังทดลองในด้าน ทัศนคติต่อวิชาฟิสิกส์ ผลสัมฤทธิ์การเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์และศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนฯ
ผลการวิจัย
1. ได้แนวทางการนำแนวคิดการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery learning) และแนวคิดห้องเรียนกลับทาง (Flipped classroom) ประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา 7 ข้อ คือ 1.) ผู้สอนควรศึกษาทำความเข้าใจและเห็นแบบอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบรอบรู้ หรือ/และ การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับทาง 2.) ผู้สอนควรวิเคราะห์สภาพการเรียนการสอนขณะนั้นให้ครอบคลุมมากสุด
3.) ผู้สอนควรวิเคราะห์และเลือกเนื้อหาฟิสิกส์ที่เหมาะสม 4) ผู้สอนควรออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้งก่อนเข้าชั้นเรียน ในชั้นหลัง และภายหลังชั้นเรียน ให้เชื่อมโยงสนับสนุนกัน 5.) กิจกรรมการเรียนรู้ควรนำรูปแบบการสอนหรือเทคนิคการสอนต่าง ๆ มาผสมผสาน 6) ก่อนจัดการเรียนการสอน
ผู้สอนควรทำความเข้าใจกับผู้เรียน เกี่ยวกับประโยชน์ที่ผู้เรียนจะได้รับ จากการเรียนรู้แบบรอบรู้และห้องเรียนกลับทาง 7) ควรมีสิ่งจูงใจที่เหมาะสมกับ
ความสนใจและวัยของผู้เรียน
2. รูปแบบการเรียนรู้ฯ มี 10 ขั้นตอน คือ 1) ผู้สอนศึกษาหลักการเรียนแบบรอบรู้และห้องเรียนกลับทาง 2) ผู้สอนวิเคราะห์ผู้เรียนและปัจจัยต่าง ๆ ให้ครอบคลุมมากสุด 3) ผู้สอนเลือกเนื้อหาที่เหมาะสม
4) ผู้สอนกำหนดวัตถุประสงค์การเรียน 5) ผู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนก่อนเข้าชั้น
เรียน 6) ผู้สอนออกแบบกิจกรรมการสอนในชั้นเรียน 7) ผู้สอนออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนทบทวน/ฝึกฝน
8) ผู้สอนออกแบบสร้าง/จัดหา/เตรียม สิ่งต่าง ๆ 9) จัดการเรียนการสอนตามที่ออกแบบ 10) ผู้สอนประเมินผลการดำเนินการที่ผ่านมา เพื่อนำไปใช้ในครั้งต่อไป
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ฯ กับกลุ่มตัวอย่าง 4 กลุ่ม พบว่าผลสัมฤทธิ์การเรียนทักษะการคิดวิเคราะห์ และทัศนคติต่อวิชาฟิสิกส์ หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญที่ .05
จากการสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนมีความพร้อมกับการเรียนในชั้นเรียนมากขึ้นกว่าการสอนแบบเดิม สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์ รวมทั้งซักถามและแสดงความคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับประเด็นทางฟิสิกส์ได้ดีขึ้น กว่าเดิม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล
(งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษาตามแนวคิดหลักการเรียนรู้แบบรอบรู้และแนวคิดห้องเรียนกลับทางเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Physics Instructional Model Development in Undergraduate Level with Mastery Learning and Flipped Classroom
Approach to develop the Analysis Thinking |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
chalongc@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Research objectives
1. Find a guideline to apply mastery learning concepts and flipped- classroom
concepts to the instructional of physics at higher education.
2. To develop an instructional model of physics at higher education based on
mastery learning concepts and flipped- classrooms concept in order to develop
analytical thinking skills.
3. To experiment with the instructional model by comparing before and after the
experiment in terms of attitude towards physics, learning achievement, analytical
thinking skills and the satisfaction of the students who have the instructional model.
Research result
1. There are 7 ways to apply mastery learning concepts and flipped- classrooms
concept to instructional of physics at higher education. 1) The instructor should
understand the concepts and examples of learning and teaching of mastery learning
concept or / and flipped- classroom concept. 2) The teacher should analyze the context
of instructional at that time as comprehensive as possible. 3) Should analyze and select
the appropriate physics content. 4) Instructors should design, teaching and learning both
before going to class in the classroom and after the class. 5) Should apply the teaching
principles and the theories of teaching together with the teaching methods designed by
teachers. 6) Before teaching and learning, the instructor should explain to the learners the
benefits of mastery learning and flipped-classroom learning. 7) There should be incentives
that are appropriate for the learner's interest.
2. The Instructional model has 10 steps. 1) The instructor studied the principles of
the mastery- learning concept and the flipped- classroom classroom concept. 2) The
teacher analyzes the learners and various contexts as much as possible. 3) The teacher
selects the appropriate content. 4) The instructor set the learning objectives. 5) The
instructor designed learning activities for students before entering the class. 6) The
instructor designed the classroom teaching activities. 7) The instructor designed activities
for the students to review / practice. 8) Instructor designs / produce / supply / prepare
various things that used in instruction. 9) The instructor arranges the teaching and learning
as designed. 10) The instructor evaluates past instructional results used in a loop.
3. When using the instructional model to experiment with 4 groups of samples.
Found that the learning achievement, analytical skills and attitude towards physics after
the experiment were significantly higher than before the experiment at .05.
From observing, Learners are more ready to study in the classroom than traditional
teaching. Students are able to solve physics problems and analyze physics issues better
than before. |
en |
dc.keyword |
รูปแบบการเรียนการสอน |
th_TH |
dc.keyword |
ทักษะการคิดวิเคราะห์ |
th_TH |
dc.keyword |
การเรียนรู้แบบรอบรู้ |
th_TH |
dc.keyword |
สาขาการศึกษา |
th_TH |