DSpace Repository

การพัฒนาบทเรียนระบบเสียงและสัทศาสตร์ภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับ ทัศนคติและความสามารถทางการออกเสียงภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้สูงขึ้น

Show simple item record

dc.contributor.author ธนนท์รัฐ นาคทั่ง
dc.contributor.author สุทธิรักษ์ สุวรรณเดชา
dc.contributor.author ชนาภา ตรีวรรณกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-10-16T02:31:43Z
dc.date.available 2019-10-16T02:31:43Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3712
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถทางการออกเสียงภาษาอังกฤษของผู้เรียนที่เรียน วิชาการออกเสียงภาษาอังกฤษหรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนและหลังการใช้บทเรียน ระบบเสียงและสัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ 2) เปรียบเทียบทัศนคติของกลุ่มผู้เรียนที่เรียนวิชาการออกเสียง ภาษาอังกฤษหรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียงภาษาอังกฤษ ก่อนและหลังการใช้บทเรียนระบบเสียงฯ 3) เปรียบเทียบความถูกต้องแม่นยำในการออกเสียงภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนและหลังใช้บทเรียนระบบ เสียงฯ และ 4) ส ารวจความพึงพอใจของผู้เรียนต่อบทเรียนระบบเสียงฯ กลุ่มทดลองที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ นิสิตระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 155 ราย จากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบไป ด้วย 1) แบบประเมินตนเองด้านความสามารถทางการออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนและหลังใช้บทเรียนระบบ เสียงฯ 2) แบบประเมินตนเองด้านทัศนคติต่อการออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนและหลังใช้บทเรียนระบบเสียงฯ 3) แบบประเมินความถูกต้องแม่นยำการออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนและหลังใช้บทเรียนระบบเสียงฯ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อบทเรียนระบบเสียงฯ และ 5) บทเรียนระบบเสียงและสัทศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ เชิงอนุมาน ได้แก่ และ แพร์ ซิมเพิล ทีเทส (Paired Sample t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ว่าผลจากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าบทเรียนระบบเสียงฯ มีผลต่อพัฒนาการด้านความ แม่นยำในการออกเสียงภาษาอังกฤษในกลุ่มทดลองจากมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 บทเรียนระบบเสียงฯ มีผลต่อพัฒนาการด้านความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษในกลุ่มทดลอง จากมหาวิทยาลัยพะเยา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 บทเรียนระบบเสียงฯ ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติ ในกลุ่มทดลองทั้ง 2 กลุ่ม ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และกลุ่มทดลองทั้ง 2 กลุ่ม มีความพึงพอใจต่อบทเรียน ระบบเสียงฯไม่ต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี th_TH
dc.subject สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ th_TH
dc.subject ภาษาอังกฤษ - - การออกเสียง th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title การพัฒนาบทเรียนระบบเสียงและสัทศาสตร์ภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับ ทัศนคติและความสามารถทางการออกเสียงภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้สูงขึ้น th_TH
dc.title.alternative English Phonology and Phonetics Lessons Development to enhance Learners' English Attitudes and Pronunciation Ability en
dc.type Research
dc.author.email tanonratn@buu.ac.th th_TH
dc.author.email sutthirak@buu.ac.th th_TH
dc.author.email chanapha.tr@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562
dc.description.abstractalternative This research aimed to: 1) compare learners’ English pronunciation ability of the learners enrolling English Pronunciation course or other related courses between pre and post English pronunciation lessons use; 2) compare learners’ attitudes towards English pronunciation ability between pre and post English pronunciation lessons use; 3) compare pronunciation accuracy of learners between pre and post English pronunciation lessons; and 4) survey satisfaction levels of learners utilizing English pronunciation lessons. The samples of this research were 155 English majored students of Faculty of Science and Arts from Burapha University Chanthaburi Campus and Faculty of Arts from University of Payao, who are enrolling English Pronunciation course or other related courses. Attitudes Selfassessment forms, pronunciation ability self-assessment forms, English pronunciation accuracy assessment forms, satisfaction levels assessment forms, and English pronunciation lessons were used to collect data. Data analysis was based on descriptive statistics: average, percentage, and standard deviation as well as inferential statistics using Paired Sample t-test en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account