DSpace Repository

โครงการการสร้างระบบกลุ่มเกษตรกรพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบกลุ่มภาคเหนือของประเทศไทย โดยประยุกต์หลักการพัฒนาองค์การและเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

Show simple item record

dc.contributor.author รุ่งอาทิตย์ บูชาอินทร์
dc.contributor.author กฤช จรินโท
dc.contributor.author กฤษนัยน์ เจริญจิตร
dc.contributor.author สมภพ สวามิภักดิ์
dc.contributor.author สินชัย เรืองไพบูลย์
dc.contributor.author บัญชา โชติรัตนฤทธิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-07-14T04:40:19Z
dc.date.available 2019-07-14T04:40:19Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3619
dc.description.abstract การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบูรณาการโดยใช้ศาสตร์ของภูมิสารสนเทศซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์กับ บริหารธุรกิจซึ่งเป็นสังคมศาสตร์โดยวัตถุประสงค์ของแผนงานวิจัย/ โครงการวิจัย คือ 1) เพื่อเพิ่มศักยภาพของเกษตรกรซึ่งจะส่งผลถึงการเพิ่มคุณภาพน้ำนมดิบและพัฒนาสร้างระบบเกษตรกรพี่เลี้ยงโคนมอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2) เพื่อสร้างฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศและวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมในการเพาะปลูกพืชอาหารสำหรับโคนมในการสนับสนุนระบบกลุ่มเกษตรกรพี่เลี้ยง เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการโดยประยุกต์หลักการพัฒนาองค์การและเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศนั้นได้ดำเนินการตามขั้นตอนของวิธีการวิจัยในระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 6 โดยการคัดเลือกลุ่มตัวอย่าง 18 ฟาร์มจากภาคเหนือผลการวิจัยแสดงถึงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเป็นส่วนใหญ่ โครงการได้มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1.) ทัศนคติในการเปลี่ยนแปลงการเลี้ยงโคเมื่อได้เข้าอบรมและเชื่อในสิ่งที่ผู้สอนบอกและปฎิบัติตาม ส่งผลทำให้ค่าน้ำนมดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นการพัฒนา “คน” มีความจำเป็นต้องคัดเลือกคนที่พร้อมรับความรู้ อยากเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงและสามารถใช้เทคโนโลยี 2.)ประยุกต์เพื่อทำการเกษตรแบบแม่นยำสูง หรือ Precision Agriculture ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงโคนมในงานนี้คือการหาแหล่งอาหารเช่น หญ้าในพื้นที่ใกล้เคียงและอาจได้ต่อยอดเช่นการติดเครื่องระบุพิกัดให้โคเพื่อศึกษาการเดินของโคแต่ละตัวซึ่งส่งผลไปสู่สุขภาพของโคต่อไป 3.) สามารถใช้เทคโนโลยีเบื้องต้นด้าน Information Technology ในงานนี้เช่น Application cow care 4.0 ได้ แล้ว จะนำไปสู่การเก็บข้อมูลด้านการเลี้ยงโคทั้งหมดเพื่อมาวิเคราะห์ ใช้ในการบริหารจัดการฟาร์มอย่างสมบูรณ์เช่น ข้อมูลโคตั้งแต่เกิด ติดสัตว์ ระบบเตือนผสมเทียม ปริมาณนม คุณภาพน้ำนม สุขภาพโค การเจ็บป่วย และอื่น ๆ ให้อยู่ในรูปข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ทั้งของเจ้าของฟาร์ม สหกรณ์โคนม รวมไปถึงภาพรวมในระดับประเทศ 4.)เกษตรกรผู้เลี้ยงโครุ่นสอง โดยมีเกษตรกรผู้เลี้ยงโครุ่นหนึ่งทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ให้คำปรึกษา ได้นำความรู้ที่ได้มาแล้วเกิดประสบความสำเร็จไปบอกต่อผู้ประกอบการหรือเจ้าของฟาร์มอื่น ๆ ในสหกรณ์เดียวกัน th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject น้ำนมดิบ th_TH
dc.subject ระบบกลุ่มเกษตรกรพี่เลี้ยง th_TH
dc.subject ฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title โครงการการสร้างระบบกลุ่มเกษตรกรพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบกลุ่มภาคเหนือของประเทศไทย โดยประยุกต์หลักการพัฒนาองค์การและเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ th_TH
dc.title.alternative Creating a system to improve the quality of raw milk by mentor group in the northern of Thailand Using Integration of Organization Development and Geoinformatics en
dc.type Research
dc.author.email krit@buu.ac.th
dc.author.email rungatith@buu.ac.th
dc.author.email kitsanai@buu.ac.th
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research is an integrated research using the science of geospatial science, which is a science and business administration which is a social science, with the objectives of the research project is 1) to increase the potential of dairy farmers which will result in increasing quality of raw milk and develop a system more efficient and sustainable. 2) To create a geoinformatics database and to analyze the suitable area for growing crops nearby dairy cattle to support farmers Group. It is an action research by applying the principles of organizational development and geo-informatics technology that has followed the steps of the research methodology in stages 1 through 6, by selecting 18 sample farms from the northern region. The raw milk quality is improved in term of statistic significantly. The project has suggested as follows: 1.) Attitude to raising cattle when attending training and believing is very importanct, in what the instructor told and followed. If the thainee obey, the result after training is better milk quality with statistical significancely. Therefore, the development of "people" is necessary to select people who are ready to receive knowledge and want to change. Moreover, the trainees should be able to use technology 2.) Applied for precision farming or Precision Agriculture related to dairy farming in this research is to find food sources such as Grasses in nearby areas and may be further expanded, such as the tags of a cattle identification system to study the walk of each cow, which results in further health of the cattle 3.) The farmer should use the basic information technology, such as Application cow care 4.0 can then lead to data collection of all cattle farming for analysis Used to manage the farm completely, for example Cattle information from birth, breeding animals, warning systems to artificial insemination, quantity of milk, quality of milk , health of cows, illness and others to be in the form of big data, for the owners of dairy farms to plan, including the overall country 4.) The 1st generation cattle farmers must be acting as mentors, giving advice, successfully bringing the knowledge gained to tell entrepreneurs or other farm owners nearby or in the same cooperative en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account