dc.contributor.author |
พรอนันต์ เกื้อไข่ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-05-11T07:29:17Z |
|
dc.date.available |
2019-05-11T07:29:17Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3555 |
|
dc.description.abstract |
Fasciola gigantica cathepsinL, B (CatL, CatB) และ saposin-like protein 1 จัดอยู่ในกลุ่มเอนไซม์ย่อยสลายโปรตีนที่มีความสำคัญ มีการแสดงออกมากในเซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร และปล่อยสู่สารที่พยาธิหลั่งออกมา (ES product) ชนิดของ CatL, CatB และ SAP-1 เป็นโปรตีนที่มีการแสดงออกในตัวอ่อนระยะแรก ๆ ของพยาธิสำหรับการเคลื่อนที่และย่อยอาหาร ดังนั้น โปรตีน CatL, CatB และ SAP-1 น่าจะเป็นเป้าหมายสำหรับการผลิตวัคซีนป้องกันการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ F. gigantica ในการศึกษาครั้งนี้ มีการผลิต Recombinant pro-F.gigantica CatL1 (rpFgCatL1),
recombinant mature F. gigantica CatL1 (rmFgCatL1), rmFgCatL1H, rmFgCatL1G, rFgCatB2
, rFgSAP-1 ในแบคทีเรียสายพันธ์ Escherichia coli BL21 ซึ่งมีมวลโมเลกุล เท่ากับ 30, 25, 25, 25,
28, 56, 12 กิโลดาลตัน ตามลำดับ ในการทดสอบวัคซีนของโปรตีน rFgSAP-1 ใช้หนูสายพันธ์
Imprinting Control Region (ICR) กลุ่มละ 10 ตัว โดยมีการฉีดโปรตีนครั้งละ 50 ไมโครลิตร เข้าใต้ผิวหนัง หลังจากการฉีดกระตุ้นครั้งสุดท้าย 2 สัปดาห์ ได้ทำให้หนูติดเชื้อโดยป้อนตัวอ่อนพยาธิระยะติดต่อ (metacercariae) ตัวละ 15 metacercariae ซึ่งผลการทดสอบวัคซีนมีการแสดงระดับการป้องกันการติดเชื้อในกลุ่ม rFgSAP-1 เท่ากับ ร้อยละ 73.2 และ 74.3 เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม non vaccinated-infected และ adjuvant-infected controls ตามลำดับ แอนติบอดีในกลุ่มที่ฉีดกระตุ้นด้วยโปรนมีการทำปฏิกิริยากับ newly excysted juveniles (NEJ), 4-week-old juveniles and the ES products of 4 week-old juveniles และพบว่าในกลุ่มที่ฉีดกระตุ้นด้วยโปรตีนมีการตอบสนองทั้ง Th1 และ Th2 ซึ่งสอดคล้องกับระดับแอนติบอดี IgG1 และ IgG2a ที่เพิ่มขึ้น ระดับของเอนไซม์ตับ Serum Glutamic Oxaloacetic Transferase (SGOT) และ Serum Glutamic Pyruvate
Transferase (SGPT) ในกลุ่ม rFgSAP-1 แสดงให้เห็นการลดลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมรอยโรคที่เกิดกับตับในกลุ่มวัคซีนลดลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรตีน rFgSAP-1 มีศักยภาพในการเป็นวัคซีนป้องกันพยาธิใบไม้ตับ F. gigantica และอาจจะมีการทดสอบในสัตว์เคี้ยวเอื้องและมนุษย์ต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
โรคพยาธิใบไม้ในตับ -- การป้องกันและควบคุม |
th_TH |
dc.subject |
วัคซีนโรคพยาธิใบไม้ตับ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาวัคซีนจากแอนติเจนในกลุ่มเอนไซม์ย่อยสลายโปรตีนสำหรับโรคพยาธิใบไม้ตับ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development of the vaccines using protease enzymes for fasciolosis |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
earn_patho@hotmail.com |
th_TH |
dc.year |
2560 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
In Fasciola gigantica cathepsin L and B (CatL, CathB), leucine aminopeptidase
(LAP), saposin-like proteins (SAP) are a family of predominant proteases that is
expressed in caecal epithelial cells and secreted into the excretory-secretory products
(ES). CatL, SAP, LAP and CatB isotypes are expressed in both early and late stages of the
life cycle and the parasites use them for migration and digestion. Therefore, CatL, SAP,
LAP and B are a plausible target for vaccination against this parasite. Recombinant proF.gigantica CatL1 (rpFgCatL1), recombinant mature F. gigantica CatL1 (rmFgCatL1),
recombinant mature F.gigantica CatL1G (rmFgCatL1G), recombinant mature F.gigantica
CatL1H (rmFgCatL1H), recombinant F. gigantica SAP-1 (rFgSAP-1), recombinant F.
gigantica SAP-2 (rFgSAP-2), recombinant F. gigantica LAP (rFgLAP), and recombinant
mature F. gigantica CatB2 (rmFgCatB2) were expressed in Escherichia coli BL21 at
molecular weight 30, 25, 25, 25, 12, 12, 56, 28 kDa, respectively. By immunoblotting and
immunohistochemistry, rabbit IgG anti-rFgSAP-1 reacted with rFgSAP-1 at a molecular
weight 12 kDa, but not with rFgSAP-2. The rFgSAP-1 reacted with antisera from mouse
infected with F. gigantica metacercariae collected at 2, 4, and 6 weeks
after infection. The FgSAP-1 protein was expressed at a high level in the caecal
epithelium of metacercariae and NEJ. The vaccination was performed in Imprinting
Control Region (ICR) mice (n=10) by subcutaneous injection with 50 µg of rFgSAP-1
combined with Alum adjuvant. Two weeks after the second boost, mice were infected
with 15 metacercariae by the oral route. The level of protection of rFgSAP-1 vaccines
was estimated to be 73.2% and 74.3% when compared with non vaccinated-infected
and adjuvant-infected controls, respectively. By determining the levels of IgG1 and IgG2a
in the immune sera, which are indicative of Th2 and Th1 immune response,
respectively, it was found that both Th1 and Th2 responses were significantly increased
in rmFgCatL1G-immunized groups compared with the control groups, with higher levels
of Th2 (IgG1) than Th1 (IgG2a). The levels of Serum Glutamic Oxaloacetic Transferase
(SGOT) and Serum Glutamic Pyruvate Transferase (SGPT) in rFgSAP-1-immunized group
showed significant decrease when compared to control groups. The pathological lesions
of liver in vaccinated groups were significantly decreased when compared with control
groups. This study indicates that rFgSAP-1 has a potential as a vaccine candidate against
F. gigantica in mice, and this potential will be tested in ruminants |
en |