dc.contributor.author |
จันทร์จรัส วัฒนะโชติ |
|
dc.contributor.author |
รวิวรรณ วัฒนดิลก |
|
dc.contributor.author |
ณิษา สิรนนท์ธนา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-04-10T02:13:05Z |
|
dc.date.available |
2019-04-10T02:13:05Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3499 |
|
dc.description.abstract |
จากการนำเชื้อแอคติโนมัยซีทที่แยกได้จากดินตะกอนป่าชายเลน จำนวน 4 ไอโซเลท ศึกษาการผลิตสารสีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และความสามารถในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ โดยเลี้ยงในอาหารแตกต่างกัน 3 สูตร ได้แก่ ISP2 ISP3 และ OYG (oatmeal yeast extract และ glycerol) ที่ความเค็มแตกต่างกัน พบว่าเชื้อแต่ละไอโซเลทให้ปริมาณมวลชีวภาพ และการออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่แตกต่างกัน การทดลองเพิ่มปริมาณผลผลิตสารสีจากการเลี้ยงเชื้อ Streptomyces parvulus (CP58-4-21) พบว่าอาหารสูตร ISP3 และ OYG ที่มีข้าวโอ๊ตเป็นแหล่งคาร์บอนให้ น้ำหนักของสารสกัดหยาบมากที่สุดจากส่วนของเซลล์คือ 0.1331 และ 0.1049 กรัม ตามลำดับ และพบว่าสารสกัดหยาบจากส่วนน้ำเลี้ยงเชื้อในอาหารทั้ง 2 สูตร ให้สารสีเหลือง สารสีเมื่อตั้งไว้ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 4000 ลักซ์ เป็นเวลา 60 วัน มีการลดลงของค่า การดูดกลืนแสง ร้อยละ 33 ผลการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบของเชื้อแอคติโนมัยซีทในกลุ่ม Streptomyces ได้แก่ A1-3, A3-3 และ A16-1 พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตและผลิตสารทุติยภูมิของเชื้อ คือ เลี้ยงด้วยอาหาร ISP3 ที่ความเค็ม 25 พีพีทีในขณะที่เชื้อ S. parvulus ควรเลี้ยงในอาหาร ISP2 ที่ความเค็ม 17 พีพีที โดยมีน้ำตาลเด็กโตรสเป็นแหล่ง คาร์บอน เมื่อเลี้ยงเชื้อนาน 10 วัน จะให้ปริมาณมวลชีวภาพมากที่สุด สารทุติยภูมิที่ผลิตได้จะถูกปล่อยไปในน้ำเลี้ยงเมื่อเลี้ยงเชื้อ14 วัน ทำให้ปริมาณสารสกัดในน้ำเลี้ยงมากเพิ่มขึ้น จากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของเชื้อแอคติโนมัยซีทที่แสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุด พบว่าเชื้อ A1-3 ที่เลี้ยงด้วยอาหาร ISP3 ความเค็ม 17 พีพีที นาน 7 วัน สามารถผลิตสารทุติยภูมิในชั้นน้ำเลี้ยงได้ 0.0138 มิลลิกรัม และแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ABTS ที่ IC50 58.07+2.09 พีพีเอ็ม การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์เมื่อเลี้ยงเชื้อ S. parvulus ในอาหารเหลว ISP2 ที่ความเค็ม 7 ระดับ แล้วทดสอบการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย 3 ชนิด Escherichia coli, Bacillus subtilis, Staphylococcus aureus และเชื้อรา Candida albicans พบว่าความเค็มของน้ำทะเลที่ใช้เตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ 35 พีพีทีให้ปริมาณสารสกัดหยาบมากที่สุดจากส่วนของน้ำเลี้ยง และการเลี้ยงเชื้อที่ความเค็ม 40 พีพีทีสามารถยับยั้งเชื้อ E. coli ได้ดีที่สุด (20±1มิลลิเมตร) แต่ไม่แตกต่างจากความเค็มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าอาหารที่ใช้เลี้ยงเชื้อต่างชนิดกันมีผลต่อการออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราอย่างชัดเจน โดยเชื้อที่เลี้ยงในอาหารสูตร ข้าวโอ๊ต ยีสต์สกัด และกลีเซอรอล ผลิตสารที่ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราดังกล่าวได้ดีที่สุด และแตกต่างจากการเลี้ยงเชื้อในอาหาร ISP2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)" |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ อุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2559 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
รงควัตถุ (ชีววิทยา) |
th_TH |
dc.subject |
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ |
th_TH |
dc.subject |
แอคติโนมัยซีท |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาการเพิ่มผลผลิตสารสีและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีท |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development for the enhanced production of pigments and bioactive compounds from actinomycetes |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
janjarus@buu.ac.th |
|
dc.author.email |
rawiwan@buu.ac.th |
|
dc.author.email |
nisas@buu.ac.th |
|
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Four isolates of marine actinomycetes were separated from sediment which collected form mangrove areas. These isolates were then screened for pigment production antioxidant and antibacterial activity. The actinomycetes were cultured in ISP2 ISP3 or OYG (oatmeal, yeast extract and glycerol)medium at different salinity levels. Streptomyces parvulus (CP58-4-21) gave high crude extract from cells at 0.1331 and 0.1049 g when cultured in ISP3 and OYG medium respectively which oatmeal is major component. However, absorption of yellow pigment of crude extract was reduced 33% at light intensity 4000 lux 25°C for 60 days. The enrichment of an actinomycete, Streptomyces A1-3, A3-3 and A16-1 in different types of culture media were further investigated for antioxidant activities. The result indicated that the most suitable media for A1-3, A3-3 and A16-1 was ISP3 and salinity at 25 ppt while S. pavulus medium was ISP2 salinity at 17 ppt. The results of antioxidant activity from crude extract of A1-3 which cultured in ISP3 salinity 17 ppt for 7 days exhibited high ABTS radical scavenging activity with IC50 value of 58.07+2.09 ppm. The cultivation of actinomycetes gave high biomass for 10 days while secondary metabolite secrete from cells to medium after cultured for 14 days. This research was to study the influence of salinity and culture media on growth of marine actinomycete, S. parvulus, to produce high yield of crude extract and their antimicrobial activities. Antibacterial and antifungal activities were observed against Escherichia coli, Bacillus subtilis, Staphylococcus aureus and fungus Candida albicans. S. parvulus was cultured in seven levels of salinity of natural sea water and using ISP2 as culture medium. It was found that salinity at 35 ppt gave the highest yield of crude extracts from supernatant. In addition, crude extract from cells which cultured at salinity 40 ppt showed the highest inhibition zone against E. coli at 20±1mm not significant difference with other salinity (P>0.05). Cultivation of actinomycete with different medium fomulas affected for the bioactive metabolites production. The actinomycete cultured in formula, Oatmeal Yeast Extract and Glycerol medium produced substances that inhibited those bacteria and fungus higher than ISP2 statistically significant (P<0.05) |
en |