dc.contributor.author |
กิตติ กรุงไกรเพชร |
|
dc.contributor.author |
มัณฑนา รังสิโยภาส |
|
dc.contributor.author |
นิสากร กรุงไกรเพชร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
th_TH |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2019-04-03T13:57:29Z |
|
dc.date.available |
2019-04-03T13:57:29Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3470 |
|
dc.description.abstract |
ท่านยังจำได้ไหมเวลาที่ท่านเคยช่วยทำคลอดให้สตรีมีครรภ์ในช่วงที่ท่านกำลังอยู่ในช่วงของการฝึกหัดโดยเฉพาะผู้ป่วยรายแรกของท่าน มันเป็นงานที่มีความกดดันอย่างสูงของเหล่านิสิตแพทย์และนิสิตพยาบาลในการเรียนช่วงชั้นคลินิก ซึ่งนิสิตส่วนใหญ่จะขาดความมั่นใจในการทำหัตถการทางการแพทย์ ดั้งนี้คณะผู้วิจัยจึงได้วางแผนที่จะสร้างอุปกรณ์ช่วยป้องกันทารกพลัดหล่นเพื่อช่วยให้นิสิตเกิดความมั่นและเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ป่วย คณะผู้วิจัยได้รวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาอุปกรณ์นำร่องรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ป้องกันทารกพลัดหล่นในทำคลอดปกติ โดยการผ่านการพิจารณาจากที่ปรึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิ จากนั้นให้นิสิต 15 คน จากคณะแพทย์และพยาบาลศาสตร์เป็นอาสาสมัครในการทดสอบเครื่องมือ และให้ความเห็นต่อรูปลักษณ์ ความสะดวกต่อการใช้งาน คุณภาพวัสดุ ความแข็งแรง และความสะดวกในการจัดเก็บ ผลการศึกษาพบว่า พัฒนาอุปกรณ์ได้ 2 รูปแบบตามการใช้งาน ค่าเฉลี่ยความมั่นใจของอาสาสมัครเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 อาสาสมัครทุกคนพอใจกับรูปลักษณ์ ความสะดวกต่อการใช้งาน คุณภาพวัสดุ ความแข็งแรง และความสะดวกในการจัดเก็บ โดยชื่นชอบที่จะเลือกใช้อุปกรณ์แบบที่ 1 มากกว่าแบบที่ 2
คณะผู้วิจัยสรุปว่า ผลงานที่ได้มีความเป็นได้มากที่นำมาใช้งานจริงในการฝึกหัดทางสูติศาสตร์ โดย
คณะผู้วิจัยจะทำการปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องเพิ่มเติมจากคำวิจารณ์ของอาสาสมัครและผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อนำมาใช้ในมนุษย์ต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล(งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การทำคลอด |
th_TH |
dc.subject |
ทารก -- อุบัติเหตุ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
เครื่องมือป้องกันทารกพลัดหล่นในการฝึกหัดทำคลอดปกติสำหรับนิสิตนักศึกษาแพทย์และพยาบาล |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Equipment for prevention of newborn fall during normal delivery training in medical and nursing students |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.author.email |
kitti@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
montana@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
nisakorn@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2560 |
|
dc.description.abstractalternative |
Do you remember when you helped the mothers to deliver her babies during your
obstetric training especially the first case in your life? It was very stressful job among the
medical/nursing students in clinical-year study. Most of them lacked of confidence in doing the medical procedure. For this reason, we planned to develop the newborn-fall prevention
devices to help them raising their confidence and finally for patient safety.
We collected the related information and developed pilot-tool models of normal
delivery-assisting equipment for newborn-fall prevention under supervision from research
consultants and experts. There were the 15 volunteers from medical and nursing faculty,
Burapha University who joined and tried these tools in mannequins. We asked them for rating their confidence scale after using both instruments and comment for the semblance, friendly using, quality of material, strengthen feel and ease for storage.
We developed 2 models of devices under working conditions and had a significant
raising confidence scores among volunteers at 95% confidence interval. All of them satisfied to these devices in the semblance, friendly using, quality of material, strengthen feel and ease for storage. Most of them prefer to use device model 1 more than another one. We concluded that these devices can use in the real situations for obstetrics training. We will rectify our innovative devices due to every comments from our volunteers and experts for the further use in human |
en |