dc.contributor.author | วทัญญู สุวรรณเศรษฐ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:24:04Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:24:04Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3450 | |
dc.description.abstract | การดำเนินธุรกิจในอดีตที่การแข่งขันทางการตลาดไม่รุนแรงและสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนักส่งผลให้องค์การส่วนใหญ่สามารถแข่งขันและช่วงชิงความได้เปรียบจากปริมาณเงินทุนและทรัพยากรการผลิตที่ตนมี แต่การดำเนินธุรกิจท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรงเช่นในปัจจุบันพบว่าเงินทุน ทรัพยากรการผลิต และกลยุทธ์การแข่งขันทางการตลาดนั้นสามารถหามาแข่งขันหรือลอกเลียนแบบกันได้โดยไม่ยากนัก อย่างไรก็ตามพบว่ามีองค์การจำนวนไม่น้อยที่สามารถประสบความสำเร็จเหนือคู่แข่งทั้งที่มีทุนและทรัพยากรการผลิตในปริมาณที่น้อยกว่า มีการศึกษาจำนวนมากพบว่าองค์การที่มีศักยภาพในการแข่งขันสูงให้ความสำคัญกับการลงทุนและวางแผนพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรของพวกเขาอย่างต่อเนื่อง มีแผนและกระบวนการวิเคราะห์ความจำเป็นในการจัดกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้มั่นใจได้ว่าบุคลากรในองค์การจะได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่วางไว้ อย่างไรก็ตามในระยะหลังเริ่มพบว่าแนวคิดและรูปแบบการวิเคราะห์ความจำเป็นเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่เคยดำเนินการมาในอดีตเริ่มขาดประสิทธิภาพ มักไม่เอื้อต่อรูปแบบการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันและทิศทางการเติบโตของธุรกิจในอนาคต บทความนี้ มุ่งให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ขั้นตอนและประโยชน์ของการวิเคราะห์ความจำเป็นเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ดำเนินมาตั้งแต่ในอดีต ในขณะเดียวกันก็นำเสนอข้อจำกัดที่พบจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนให้ข้อแนะนำเพื่อการพัฒนาทฤษฏี แนวคิดทางวิชาการและแนวทางดำเนินการวิเคราะห์ความจำเป็นเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงรุกสำหรับองค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพจากการดำเนินการรูปแบบเดิม | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th |
dc.subject | การประเมินความจำเป็น | th_TH |
dc.subject | ทรัพยากรมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ความจำเป็น | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ความจำเป็นเพื่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: การทบทวนข้อจำกัดด้านแนวคิดและการปฏิบัติ | th_TH |
dc.title.alternative | Traditional HRD needs assessment: The review of potential shortfalls in concepts and practices | |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 28 | |
dc.year | 2560 | |
dc.description.abstractalternative | In the past where the market environment had been less competitive and changed slowly, most business organizations richer in capital and resources could easily overtake and gain more market competitive advantage over their competitors. Nonetheless, this is less likely the case for a business operation in today’s dynamic world. In today’s aggressive business environment, many organizations can easily gain both capital and resources locally and globally. New forms of marketing strategies have been routinely created, adjusted or easily imitated However, nowadays numerous successful corporates with less capital and resources may perform better than their resourceful rivals. Studies show that these highly competitive organizations have continuously invested on developing their staff competencies. Their long-term and short-term Human Resource Development needs assessment (HRDNA) and subsequent plans can ensure their well-trained staff possess knowledge, skills, and abilities needed to perform their assigned work. However, owing to the combative ways of doing business today, the HRDNA ensuring staff high competence and business success in the past has recently become less effective, obsolete, and not ministered to the direction and future growth of businesses. This article aims to 1) review concepts, steps and benefits of traditional HRDNA, 2) point out some potential shortfalls, and 3) provide both theoretical and practical contributions to create a new body of knowledge in the field of HRD, and assist organizations in adjusting their HRDNA process | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Education Burapha University | |
dc.page | 1-21. |