DSpace Repository

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิพื้นผิวดินกับพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดระยอง

Show simple item record

dc.contributor.author นราธิป เพ่งพิศ
dc.contributor.author สุพรรณ กาญจนสุธรรม
dc.contributor.author แก้ว นวลฉวี
dc.contributor.author ภัทราพร สร้อยทอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3444
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิพื้นผิวดินกับพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างโดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม LANDSAT-8 และเลือกวิธีการประมาณค่าอุณหภูมิพื้นผิวดินแบบ Split-Window ที่ประกอบด้วย 3 พารามิเตอร์ที่สำคัญ ได้แก่ 1) อุณหภูมิความสว่าง 2) สภาพเปล่งรังสีของพื้นผิวโลก และ 3) ไอน้ำในชั้นบรรยากาศในการประมาณค่าร่วมกับการศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยวิธีการจำแนกแบบกำกับดูแล ผลจากการศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินพบว่า พื้นที่เกษตรกรรมมีพื้นที่เท่ากับ 290.86 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 56.46 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างมีพื้นที่เท่ากับ 89.77 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 17.42 พื้นที่อื่น ๆ มีพื้นที่เท่ากับ 70.54 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 13.69 พื้นที่ป่าไม้มีพื้นที่เท่ากับ 60.15 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 11.67 และพื้นที่แหล่งน้ำมีพื้นที่เท่ากับ 3.87 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 0.75 ผลจากการประเมินความถูกต้องของการจำแนกพบว่า มีค่าความถูกต้องโดยรวม เท่ากับ 78.80 เปอร์เซ็นต์ เมื่อทำการศึกษาอุณหภูมิเฉลี่ยของแต่ละตำบล พบว่า ตำบลท่าประดู่ มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงที่สุดเม่ากับ 33.21 องศาเซียลเซียส รองลงมา คือ ตำบลเชิงเนิน มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 31.71 และตำบลมาบตาพุด มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 31.11 องศาเซลเซียส เนื่องมาจากตำบลดังกล่าวปกคลุมด้วยพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเป็นส่วนใหญ่ ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหูมิพื้นผิวดินเฉลี่ยกับพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างนั้นมีความสัมพันธ์กันและมีค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.9604 นอกเหนือจากนี้จากการทำนายอุณหภูมิจากสมการถดถอยเชิงเส้น พบว่า ถ้าในอนาคตร้อยละ ของพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรา้งเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 100 อำเภอเมืองระยองจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ประมาณ 5.69 องศาเซียลเซียส th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th
dc.subject การใช้ที่ดิน -- ไทย -- ระยอง th_TH
dc.subject ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ th_TH
dc.subject อุณหภูมิโลก th_TH
dc.title การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิพื้นผิวดินกับพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดระยอง th_TH
dc.title.alternative The study of correlation between land surface temperature with urban and building area, a case study of Amphoe Mueang Rayong, Rayong province, Thailand en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 3
dc.volume 2
dc.year 2560
dc.description.abstractalternative The research was studied land surface temperature by Split-Window algorithm for LANDSAT-8, which it consisted three important parameters such as 1) brightness temperature 2X land surface emissivity and 3) atmospheric water vapor. There was also analysis of land use, for studying a relationship between land surface temperature and urban and building area. The result of land use found most area of the district remains an agricultural, which was 290.86 Sq.K. or 56.46% of the total area, urban and building area were 89.77 Sq.Km. or 17.42%, other area were 70.57 Sq.Km. or 13.69%, forest area were 60.15 Sq.Km. or 11.67% and water area were 3.87 Sq.Km. or 0.75%. The overall accuracy assessment of land use was 78.80 percent, The study analyzed the statistics land surface temperature in each sub-district showed a higher average in Tambon Tha Pradu Tambon Choeng Noen andTambon Map Ta Phut, it had a temperature of 33.21, 31.71 and 31.11 degree Celsius respectively because most area of the districts were covered urban and building. In addition, the relationship between land surface temperature and percent of urban and building areashowed r about 0.9604. In addition, the result, the result of temperature was predicted by the linear regression equation that shown, if urban and bullding areas increase 100 percent of the total area, an average temperature will be increases approximately 5.69 degree Celsius en
dc.journal วารสารเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Geoinformation Technology of Burapha University
dc.page 27-40.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account