DSpace Repository

การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจำแนกพื้นที่ยืนต้นยางพาราด้วยข้อมูลจากดาวเทียม กรณีศึกษา จังหวัดบลิคำไช สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชานลาว

Show simple item record

dc.contributor.author จินดา มูนละมณี
dc.contributor.author สุพรรณ กาญจนสุธรรม
dc.contributor.author แก้ว นวลฉวี
dc.contributor.author นฤมล อินทรวิเชียร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3443
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจำแนกพื้นที่ยืนต้นยางพาราจากข้อมูลจากดาวเทียม LANDSAT-8 ระบบ OLI ในปี พ.ศ. 2558 กรณีศึกษาจังหวัดบลิคำไช สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้วยวิธีการจำแนกการวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่ยางพารา โดยมีขั้นตอนการศึกษา คือ 1. การแบ่งส่วนภาพถ่ายจากดาวเทียม 2. การกำหนดคุณลักษณะของแต่ละส่วนภาพด้วยค่าดัชนีพืชพรรณ NDVI ของการใช้ที่ดินแต่ละประเภท 3. การเลือกพื้นที่ตัวอย่างสำหรับจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดิน 4. การจำแนกประเภทข้อมูลแบบ Nearest Neighbor และ 5. การประเมินความถูกต้องของการจำแนกพื้นที่ปลูกยางพารา ผลการศึกษาพบว่า จังหวัดบลิคำไชมีพื้นที่ทั้งหมด 9,669,325 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 6.53 ของประเทศ การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นพื้นที่ป่าไม้มีพื้นที่มากที่สุด คิดเป็น 8,431,785.18 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 6.53 ของประเทศ การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นพื้นที่ป่าไม้มีพื้นที่มากที่สุดคิดเป็น 8,431,785,18 ไร่ หรือร้อยละ 87.20 รองลงมาคือ พื้นที่เกษตรกรรม คิดเป็น 850,876, .46 ไร่ หรือ 8.80 ส่วนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสร้าง คิดเป็น 112,276.40 ไร่ หรือร้อยละ 1.16 ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่แหล่งน้ำคิดเป็น 194,179.72 ไร่หรือร้อยละ 2.01 และมีพื้นที่ยืนต้นยางพารา รวมทั้งสิ้น 80,207.25 ไร่ รวมทั้งสิ้น 80,207.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.83 ของพื้นที่การใช้ประโยชนที่ดินทั้งจังหวัด โดยอำเภอที่มีพื้นที่ยืนต้นยางพารามากที่สุด คือ อำเภอปากกะดิง มีพื้นที่เท่ากับ 39,500.31 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 49.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 49.25 และอำเภอไชจำพอน มีพื้นที่ยืนต้นยางพาราน้อยที่สุดเท่ากับ 221.31 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.28 ผลจากการประเมินความถูกต้องสำหรับการจำแนก พบว่า ค่าความถูกต้องโดยรวมของการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดิน เท่ากับ 85.00 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งค่าความถูกต้องของพื้นที่ยืนต้นยางพารา ทั้งค่าความถูกต้องของการจำแนกข้อมูล (Producer Accuracy: PA) และค่าความถูกต้องสำหรับผู้ใช้งาน (User Accuracy: CA) นั้นอยู่ในระดับดี มีค่าเท่ากับ 96.15 และ 83.33 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ภูมิสารสนเทศ th_TH
dc.subject ยางพารา - - การจำแนก th_TH
dc.subject ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ th_TH
dc.subject แลนแซท th_TH
dc.title การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจำแนกพื้นที่ยืนต้นยางพาราด้วยข้อมูลจากดาวเทียม กรณีศึกษา จังหวัดบลิคำไช สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชานลาว th_TH
dc.title.alternative Application of Geoinformation Technology for Classification of Para Rubber Plantation Areas The Case Study of Borikhamxai Province, Lao, PDR en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 3
dc.year 2560
dc.description.abstractalternative This research is the application of Geo-information technology to identify areas with rubber plantation from LANDSAT-8OLI satellite data in the year 2015 in Borikhamxai province, Lao People Democratic Republic. The methodology is based on the Object Base image classification and analysis. The educational process is the step as follows: 1. Create satellite image segmentation 2. The defining feature of each segmentation with the vegetation index NDVI of each land use type; 3. Selection of training area for land use classification; 4. Create Nearest Neighbor classification of data; and 5. Evaluate the accuracy of the classification of rubber plantations. The study found that Borikhamxai province has all 9,669,325 rai or 6.53 percentage of the country. Land use types are forest land with most area 8,431,785.18 rai or 87.20 percent; followed by the agricultural area as 850,876.46 rai or 8.80 percent; urban areas and buildings as 112,276.40 rai or 1.16 percent; the total area of the water source area about 194,179.72 rai or 2.01 percent and the para rubber about 80,207.25 rai or 0.83 percent of land area types all provinces. The majority of para rubber plantation of province is Pakading district that has 39,500.31 rai or 49.25 percent and Xaychamphone district has about 221.31 rai or 0.28 percent. The result of the assessment is valid for the classification of the overall accuracy of the classification of land utilization, which is equal to the percentage of 85.00. Finally, it was found that the Producer Accuracy: (PA) and the Users Accuracy (CA) were wqual to 83.33 and 96.15 percent, respectively. en
dc.journal วารสารเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Geoinformation Technology of Burapha University
dc.page 13-26.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account