DSpace Repository

ผลของโปรแกรมการพยาบาลตามรูปแบบความเชื่อความเจ็บป่วยต่อความเครียด และการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของครอบครัวผู้ดูแล

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ น้ำดอกไม้
dc.contributor.author จินตนา วัชรสินธุ์
dc.contributor.author วรรณี เดียวอิศเรศ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:28Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:28Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3432
dc.description.abstract การศึกษากึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลตามรูปแบบความเชื่อความเจ็บป่วยต่อความเครียดและการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของครอบครัวผู้ดูแล กลุ่มตัวอย่าง คือ ครอบครัวผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 30 ราย เลือกด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย เข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพยาบาลตามรูปแบบความเชื่อความเจ็บป่วย 4 ครั้ง ๆ ละ 60 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง ด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลความเครียดและการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของครอบครัวผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความเครียดน้อย กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) และมีคะแนนเฉลี่ยการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ผลการวิจัยนี้ แสดงว่าโปรแกรมการพยาบาลตามรูปแบบความเชื่อความเจ็บป่วย สามารถนาไปใช้ในการดูแลครอบครัวผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเพื่อการลดความเครียดและเพิ่มสมรรถนะในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้ดีขึ้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th
dc.subject การพยาบาล th_TH
dc.subject ความเครียด (จิตวิทยา) หลอดเลือดสมอง - - โรค - - ผู้ป่วย - - การดูแล th_TH
dc.subject ผู้ดูแล th_TH
dc.title ผลของโปรแกรมการพยาบาลตามรูปแบบความเชื่อความเจ็บป่วยต่อความเครียด และการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของครอบครัวผู้ดูแล th_TH
dc.title.alternative Effect of nursing intervention program based on illness belief model on family caregivers' stress and caring for stroke patients
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 24
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative Intervention Program based on Illness Belief Model (NIPIBM) on family caregivers’ stress and caring for stroke patients. The samples of 30 family caregivers were recruited and randomly assigned into the control (n = 15) and experimental group (n = 15). The experimental group received four weekly sixty-minute sessions of NIPIBM, while the control group received regular nursing care. Caregivers’ Stress Interview and Caring for Stroke Patients of Family Caregivers Interview were used for pretest and posttest data collection. Frequency, mean, standard deviation, and t-test were computed for data analysis. The results revealed that after the experiment, family caregivers in the experimental group had significantly lower mean scores of stress than those in the control group (p < .01), and significantly higher mean scores of caring than those in the control group (p < .05). This indicates that NIPIBM can be applied for stroke’s family caregivers in order to decrease family caregivers’ stress and increase competency of caring for stroke patients en
dc.journal วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page 27-38.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account