dc.contributor.author | ฉัตรฤดี ภาระญาติ | |
dc.contributor.author | วารี กังใจ | |
dc.contributor.author | สิริลักษณ์ โสมานุสรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:28Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:28Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3425 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนาย เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพลังสุขภาพจิตของผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิงในกรุงเทพมหานคร จำนวน 94 ราย ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคลการรับรู้ภาวะสุขภาพ ขวัญและกำลังใจ การสนับสนุนทางสังคม และพลังสุขภาพจิต โดยมีค่าความเที่ยงของแบบ สัมภาษณ์การรับรู้ภาวะสุขภาพ ขวัญและกำลังใจ การสนับสนุนทางสังคม และพลังสุขภาพจิต เท่ากับ .84, .89, .70 และ .74 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างครึ่งหนึ่งมีพลังสุขภาพจิตอยู่ในระดับสูง และมีค่าเฉลี่ยของพลังสุขภาพจิตอยู่ในระดับปานกลาง (M = 144.29, SD = 14.98) การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ภาวะสุขภาพสามารถร่วมกันทำนายพลังสุขภาพจิตของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 30.9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนปัจจัยด้านเพศ ความเพียงพอของรายได้ และขวัญและกำลังใจ ไม่สามารถทำนายพลังสุขภาพจิตของผู้สูงอายุได้ ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยได้ ดังนี้ Ý = 61.059 + 0.750(การสนับสนุนทางสังคม) + 1.943 (การรับรู้ภาวะสุขภาพ) การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรในทีมสุขภาพควรให้การพยาบาลหรือจัดกิจกรรม การพยาบาล เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีพลังสุขภาพจิต โดยตระหนักถึงปัจจัยด้านการสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ภาวะสุขภาพ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ผู้สูงอายุ - - สุขภาพจิต | th_TH |
dc.subject | สุขภาพจิต | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทำนายพลังสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.title.alternative | Predictive factors of resilience among elderly | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 24 | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | This research was a predictive correlation study aimed at determining the predictive factors of resilience among community-dwelling older adults. The participants were 94 community dwellers aged 60 and older residing in Bangkok. They were selected using a stratified random sampling technique. Research instruments included the Personal information, the Perceived health status scale, the Morale scale, the Personal resource questionnaire 2000 and the Resilience scale. The Perceived health status scale, the Morale scale, the Personal resource questionnaire 2000 and the Resilience scale were reliability of Cronbach’s alpha coefficient at .84, .89, .70, and .74 respectively. Percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis were employed for data analyses. The results showed that half of these older adults perceived their resilience at a high level and its mean score was at a moderate level (M = 144.29, SD = 14.98). Social support and perceived health status together could predict resilience with 30.9 % (R2 = .309, p < .01). The gender, the adequacy of income and morale could not predict resilience. The regression equation could be written as follows. Ý = 61.059 + 0.750 (social support) + 1.943 (perceived health status) From the study findings, it is suggested that in designing proper nursing intervention to promote resilience among older adults, nurses and health team personnel should enhance their social support and perception towards health | en |
dc.journal | วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University | |
dc.page | 97-106. |