dc.contributor.author |
วัลภา คุณทรงเกียรติ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:23:26Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:23:26Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3410 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาของไฮเดกเกอร์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการตายดีตามการรับรู้ของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยภาวะวิกฤต ผู้ให้ข้อมูลเป็นสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยภาวะวิกฤตที่พักรักษาในโรงพยาบาล 3 แห่งในจังหวัดชลบุรี โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 7 คน เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน 2557 โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกต และการสะท้อนคิดวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอนของ โคเฮน คาห์น และสตีฟส์ (Cohen, Kahn, & Steeves, 2000) ผลการศึกษาพบประเด็นหลักเกี่ยวกับการตายดี ตามการรับร้ขู องสมาชิกครอบครัว
ผู้ป่วยภาวะวิกฤตทั้งหมด 4 ประเด็น คือ การตายที่ไม่มีความทุกข์ทรมาน การยอมรับการตายที่จะเกิด การได้ดูแลและตอบสนองความปรารถนาของผู้ป่วย และการมีสมาชิกครอบครัวอยู่ด้วยก่อนตาย ผลการศึกษาครั้งนี้ ทำให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งถึงการตายดีตามการรับรู้ของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยภาวะวิกฤต ทำให้พยาบาลสามารถนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพการดูแล
แบบประคับประคองในการส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
เพื่อให้เกิดการตายที่ดีได้ในผู้ป่วยภาวะวิกฤตระยะสุดท้าย |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ความตาย |
th_TH |
dc.subject |
ทัศนคติต่อการตาย |
th_TH |
dc.subject |
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย - - การตาย |
th_TH |
dc.subject |
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การตายดีตามการรับรู้ของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยภาวะวิกฤต |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
4 |
|
dc.volume |
24 |
|
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
A qualitative research based on Heideggerian phenomenology aimed to explain good death as perceived by the critically ill patients’ family members. Seven informants who were family
members of the critically ill patients at three hospitals in Chonburi province were purposively
selected. Data were collected by in-depth interview, observation, and critical reflection.
Cohen, Kahn and Steeves’s (2000) step guided data analysis. Four themes of good death as perceived by the critically ill patients’ family members emerged, which were death without suffering, acceptance of inevitable death, caring and responding the patients’needs, and being with family members before death, This findings provide deep understanding of good death as perceived by the critically ill patients’ family members and help to improve quality of palliative care by promoting families’ participation in caring for good death in critically ill patients |
en |
dc.journal |
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University |
|
dc.page |
89-100. |
|