DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.author สุมณฑิรา นิยะมะ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:24Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:24Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3384
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี จำแนกตามประสบการณ์ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดงานเขตพื้นที่การศึกษา และประเภทของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี จำนวน 347 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 73 ข้อ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe’ method) และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (r) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่กรศึกษาประถมศึกษาชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่กรศึกษาประถมศึกษาชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3. การเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามประเภทของสถานศึกษา 4. การเปรียบเทียบประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อจำแนกตามประสบการณ์ในการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามประเภทของสถานศึกษา 5. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี โดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์กันในระดับสูง th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การบริหารงานวิชาการ th_TH
dc.subject ผู้บริหารโรงเรียน th_TH
dc.subject โรงเรียน - - การบริหาร th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Relationship between academic affairs administration and schools effectiveness under the office of Chonburi Primary Educational Service Area en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 9
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the relationship between academic affair of administrators and school effectiveness under the Office of Chon Buri Primary Educational Service Area, A set of five-rating-Likert-scale questionnaire was used to collect the data. The statistical devices were mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA. When a statistical significance was found, the pair comparison of Shaffer and Pearson’s correlation coefficient would be employed. The findings revealed that: 1. The academic affair administration of administrators, in general, was rated at a high level. 2. The school effectiveness, in general and in each particular aspect, was rated at a high level. 3. On the comparison of academic administration of administrators, in general, as classified by experience and educational service area were found insignificant difference, while as classified by educational service area, in general and in each particular aspect, were found significant difference at p < .05. 4. On the comparison of school effectiveness as classified by experience and educational service area were found statistically insignificant difference. While as classified by type of school, in general and in each particular aspect, were found statistically significant difference at p< .05. 5. The relationship between academic affair administration of administrators and school effectiveness as classified by experience., educational service area, and type of school, in general and in each particular aspect, was rated at a high level. en
dc.journal วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University
dc.page 59-73.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account