dc.contributor.author |
สกฤติ อิสริยานนท์ |
|
dc.contributor.author |
ธีระ กุลสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
สริยา วิริโยสุทธิกุล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
Policy and strategy of cultural tourism industry development in Nong Khai province |
en |
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:23:23Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:23:23Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3368 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาเรื่อง นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดหนองคาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และบทความที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาพื้นที่ และกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว รวมถึงวิเคราะห์ศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยว และข้อมูลด้านการตลาดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดหนองคาย ทั้งในปัจุบันและแนวโน้มในอนาคต เพื่อจัดทำแผนแม่บทเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดหนองคาย (Qualitative research) ซึ่งมีการดำเนินงานวิจัย 2 ส่วน ได้แก่ การวิจัยเอกสาร (Documentary research) และการสนทนากลุ่ม (Focus group) จำนวน 28 คน
ผลการศึกษาพบว่า เมืองหนองคายนั้นเป็นเมืองที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าท่องเที่ยวจำนวนมาก เช่น สะพานมิตรภาพไทยลาว บรรยากาศริมแม่น้ำโขง อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ ของจังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองคายถือเป็นเมืองแห่งพญานาคมีชื่อเสียงที่เมื่อเอ่ยถึงนักท่องเที่ยวจะจินตนาการว่าเป็น เมืองบั้งไฟพญานาค สำหรับปัญหาและอุปสรรคในด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดหนองคาย พบว่า การที่ยังไม่มีหน่วยงานที่สนับสนุนการท่องเที่ยวจังหวัดเป็นของตนเองนั้น ซึ่งทำให้ไม่มีหน่วยงานที่ดูแลที่ชัดเจน ในด้านของทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายมีทิศทางที่จะพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวภายในจังหวัดให้มีความโดดเด่นและน่าสนใจมากขึ้น โดยทางเทศบาลเมืองหนองคายได้มีการจัดกิจกรรมถนนคนเดินจัดให้มีมุมถ่ายรูปและได้วางยุทธศาสตร์ไว้ เป็นจุดเชื่อมโยงของการท่องเที่ยวและการคมนาคม จะพัฒนาหน้าเมืองเพิ่มขึ้นด้วยการทำลานพญานาคแห่งใหม่ และขยายพื้นที่ริมตลิ่งโขงเพื่อที่จะสร้างอาณาเขต จากผลการจัดทำแผนแม่บทเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดหนองคาย ได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา 5 ยุทธศาตร์ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากร การท่องเที่ยวอย่งสร้างสรรค์ พัฒนาและส่งเสริมการตลาดเพื่อการท่องเที่ยว พัฒนาเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ด้านการท่องเที่ยว และพัฒนามาตรฐานการบริการทางการท่องเที่ยว |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - - ไทย - - หนองคาย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเศรษฐศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว |
th_TH |
dc.title |
นโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดหนองคาย |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
3 |
|
dc.volume |
7 |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
The study Policy of develop cultural tourism industry of Nong Khai province aimed to synthetic the research papers, academic papers and related articles on cultural tourism. As well as information about policies, strategies, development plans, area legal and regulations related to tourism. Including to analyze the potential of touism resources and information about cultural tourism marketing both current and future trends for master plan to develop cuktural tourism industry of Nong Khai province. This research was Qualitative Research. Collect data by documentary researcher and Focus group with 28 person.
The result found that Nong Khai was the city that had many tourist attraction such as Thai-Lao friendship bridge, the Mekong river and Haw monument. Nong Khai was the famous city of Naga and when mentioned will imagine to the city of Naga fireballs. For problems and obstacles in the field of tourism found that Nong Khai had no their department that support the tourism that made Nong Khai had no definitive vare. In the direction of tourism development in Nong Khai province found that Nong Khai had the direction to the develop local attractions to have a distinctive and more attractive. Municipality of Nong Khai organize walking street activity by arranged the corner of photograph and strategic positioning to a spot of tourism and transport links. Including to develop the city by built a new Naga courtyard and expand the Mekong riverbank in order to built a land mark. As the result of a master plan to develop cultural tourism industry of Nong Khai province. it had set five strategic of development including the development of tourism resources creatively, the Development and promotion of tourism, Network development in order to optimize the management of tourism, the development of human resources for tourism and the development of standards for tourism services. |
en |
dc.journal |
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law |
|
dc.page |
93-123. |
|