DSpace Repository

ยุทธศาสตร์การจัดการที่ดินของรัฐ อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด

Show simple item record

dc.contributor.author สมหมาย แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.author ศรีวรรณ ยอดนิล
dc.contributor.author เกียรติ์ชาย นาคสุขไพบูลย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:20Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:20Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3333
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการการใช้ที่ดินของรัฐและเพื่อนำเสนอยุทธศาสตร์การจัดการที่ดินของรัฐ อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด โดยเน้นพื้นที่ด้านทิศเหนือเกาะ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ภาพถ่ายทางอากาศ และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิและนักวิชาการ จำนวน 14 คน และจัดการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้นำท้องถิ่น กำนันและผู้ใหญ่บ้าน ผลการวิจัยพบว่า 1.พัฒนาการใช้ที่ดินและปัญหาบุกรุกที่ดินของรัฐ ในเขตอำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อ พ.ศ. 2535 ทำให้ชุมชนขยายตัวเพิ่ม มากขึ้น มีการสร้างเส้นทางหลักที่ถาวรเพิ่มขึ้น พื้นที่ป่าถูกแผ้วถางร้อยละแปดสิบ ของที่ราบ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐรัฐบาลจึงได้กำหนดระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการแก้ปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ 2535 ขึ้นมาเป็นนโยบายของรัฐโดยจัดตั้งคณะกรรมการแก้ไขปัญกาการบุกรุกที่ดินของรัฐ มีอำนาจหน้าที่ติดตามกำกับดูแล ให้ส่วนราชกาลต่างๆดำเนินดารให้เป็นไปตามมาตรการ รวมทั้งการแก้ไขปัญหาป้องกันการบุกรุกที่ดินของรัฐเร่งรัดให้ดำเนินการสำรวจจัดทำแนวเขตที่ดินของรัฐ ที่อยู่ในความดูแลรักษาหรือใช้ประโยชน์ให้ถูกต้องและชัดเจน 2.ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ คณะรัฐมนตรีต้องกำหนดให้ การแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐเป็นวาระแห่งชาติ ควรแก้ไขระเบียบกฎหมายของหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้สอดคล้องกันคณะกรรมการแก้ไขปัญหาบุกรุกที่ดินของรัฐจังกวัตราดต้องจัดให้มีเวทีการพูดคุย เชื่อมโยงภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และการอ่านแปลภาพถ่ายทางอากาศดำเนินการเป็นพื้นที่ชุมชน หรือเป็นระวาง กรมที่ดินกรมธนารักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติและพันธุ์พืช และกองทัพเรือ ต้องร่วมกันกำหนดขอบเขตที่ดินของรัฐให้ชัดเจน ต้องเข้มงวดในการตรวจตราพื้นที่ การตรวจสอบแนวเขตตามหบักฐานทางแผนที่หรือหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.ยุทธศาสตร์การป้องกันการบุกรุกที่ดินรัฐ กรมที่ดิน กรมธนารักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ และกองทัพเรือต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต แต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลรับผิดชอบโดยตรง กรมที่ดินต้องจัดตั้งหน่วยงานขึ้นเพื่อรับผิดชอบศูนย์ข้อมุลที่ดินทั้งประเทศในส่วนของกรมธนารักษ์ และกองทัพเรือ ต้องพิจรณาในการขอใช้พื้นที่โดยคำนึงเป็นในการใช้ประโยชน์ที่ดินของผู้เช่า ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามที่ขอเช่า th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การใช้ที่ดิน - - ไทย - - เกาะช้าง (ตราด) th_TH
dc.subject ที่ดินของรัฐ - - ไทย - - เกาะช้าง (ตราด) th_TH
dc.title ยุทธศาสตร์การจัดการที่ดินของรัฐ อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด th_TH
dc.title.alternative Strategies of public land management at Koh Chang district, Trat province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 11
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study the development of public land utilization and propose the strategies of public land management at Koh Chang District, Trat Province byemphasizing on the area of the northern side of the island. It was a qualitative study, collected data from related research documents, aerial photographs and in-depth interviews. Those who provided data in interviewing were 14 experts and academics; on the other hand, in arranging a group discussion, those who provided information were such as government officers, local leaders, and sub-district and village headmen; whereas, the researcher acting as moderator. The research finding were as fallows. 1. The development of public land utilization and eccroachment problems at Koh Chang District, Trat Province. Since in 1992 the utilization of the public land has increased vastly, the community was expanded. There was a main permanent route which was made longer. The forest areas were destroyed about 80 percent of the flat area; therefore, this was the cause of the encroachment of public land. Hence, the government set up the Prime Minister Regulations regarding the encroachment of public land A.C. 1992. This was made as a state policy by setting up the committee to solve the encroachment problems on public land by having an authority to follow up and take care other government agencies to proceed with measures required, including solving problems and preventing the encroachment of the public land. 2. Strategic solutions to the encroachment problems of public land were as fallowing. The cabinet had to set up the solution of encroachment problems of public land as an important national session, and the cabinet should also solve the regulations and laws of each government agency related to be correspondent. Moreover, the committeesolved the encroachment problems of public land of Trat province. It was required to have a discussion stage linked with related network, and the reading and interpreting of aerial photograph of the committee to solve encroachment problems of public land should be taken into the community area or land. Land Department, the Treasury Department, the Navy, and the National Park Service had to conduct the field survey thoroughly, and they would rigorously determine the boundaries of geological maps or other relevant evidences. 3. Strategies to prevent public land encroachment. The land department, the Treasury Department, and the Navy had to act with loyalty and good faith. In this case, the Land Department should establish an agency to be responsible for land data centers across the country. In part of the Treasury Department and the Navy, they should take into consideration the need to use public land and consider the request to use of space to be suitable for required purposes. The Navy should consider returning public land to the Treasury Department if such land would be no longer needed or utilized, and then the Treasury Department should determine the land use of the tenants to be according to the purposes of the lease requested. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 119-129.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account