DSpace Repository

ทักษะการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กอนุบาลของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย: การบูรณาการศาสตร์ทางการศึกษาปฐมวัยสู่การสอนในบริบทท้องถิ่นชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ศิรประภา พฤทธิกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:18Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:18Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3304
dc.description.abstract การศึกษาเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนรายวิชาการสอนวิชาเอกเกี่ยวกับทักษะการจัดการณ์สำหรับเด็กอนุบาลของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยและกระบวนการบูรณาการศาสตร์ทางการศึกษาปฐมวัยสู่การสอนในบริบทท้องถิ่นชลบุรี ผู้เข้าร่วมการวิจัย คือ นิสิตสาขาวิชาการศึกษาประถมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนรายวิชา 400410 บูรณาการการจัดการเรียนรู้การศึกษาปฐมวัย 1 ในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2558 รวมจำนวน 41 คน การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ เทคนิคการสังเกต เทคนิคที่ไม่ได้จากการสังเกต และเทคนิคการประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1.นิสิตพัฒนาทักษะการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กอนุบาลด้านการจัดการจัดทำแผน ด้านการสอนจุลภาคและการสอนในบริบทจริง นิสิตสามารถบูรณาการสาระที่ควรรู้กับการส่งเสริมคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา และทักษะชีวิต ผ่านกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอย่างหลากหลาย สอนอย่างเป็นขั้นเป็นตอนนำไปสู่วัตถุประสงค์ที่วางไว้มีความสามารถที่เหมาะสมในการจัดการชั้นเรียน การประเมินผล การใช้สื่อการสอน การสื่อสาร และมีบุคลิกภาพที่ดี ภายหลังการเข้าร่วมวิจัย นิสิตร้อยละ 90.24 มีคะแนนรวามการประเมินทักษะการจัดการจัดประสบการณ์ในระดับดีมาก 2.กระบวนการบูรณาการศาสตร์ทางการศึกษาปฐมวัยสู่การสอนในบริบทท้องถิ่นชลบุรี จำแนกขั้นตอนได้ 8 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะเตรียมการบูรณาการ 2) ระยะวางแผนการจัดประสบการณ์ฉบับร่าง 3) ระยะปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์ฉบับร่าง 4) ระยะปฏิบัติการสอนจุลภาค 5) ระยะปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์ฉบับทดลองสอน 6) ระยะปฏิบัติการสอนในบริบทจริง 7) ระยะปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์ฉบับสมบูรณ์ และ8) ระยะสรุปและรวบรวมการเรียนรู้ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การศึกษาขั้นอนุบาล th_TH
dc.subject การศึกษาปฐมวัย th_TH
dc.subject การสอน th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ทักษะการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กอนุบาลของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย: การบูรณาการศาสตร์ทางการศึกษาปฐมวัยสู่การสอนในบริบทท้องถิ่นชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Experiences management skill for preschool children of early childhood student teachers: Integration of sciences in early childhood educatio for teaching in Chonburi context en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 11
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The purposes of this qualitative research were to study the phenomena in the Major Teaching course about experiences management skill for preschool children and the process of integration in early childhood education for teaching in ChonBuri context. The research participants were 41 forth-year of early childhood student teachers, from the faculty of education, Burapha University who enrolled in the Learning Management Integration in Early Childhood Education I course in the first semester of the academic year 2015. The data collections were divided in observational techniques, non-observational techniques and evaluation techniques. The data were analyzed using content analysis, frequency, and percentage. The research findings were as follows: 1. The student teachers improved experiences management skill which comprised: lesson planning, micro teaching, and preschool context teaching that integration content with enhancement math, science, language, and life skill; teaching skill in various method based on child-centered approach; teaching in step by step for lead to the lesson objective; appropriate capability about classroom management, evaluation, instructional media, communication; and great personality After the implementing, 90.24 of the participants had total assessment score of experiences management skill in level "very good" 2. The process procedure of integration in early childhood education for teaching in ChonBuri context was divided into 8 phases which comprised: 1) the focusing on the integration; 2) the lesson design; 3) the improvement of lesson plan; 4) the micro teaching; 5) the improvement of lesson plan from data of micro teaching; 6) the teaching in preschool context, 7) the improvement of lesson plan from data of teaching in preschool context; and 8) the consolidation of learning. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 83-96.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account