DSpace Repository

การพัฒนาระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์

Show simple item record

dc.contributor.author พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
dc.contributor.author มนตรี แย้มกสิกร
dc.contributor.author ดวงพร ธรรมะ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:18Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:18Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3297
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายคือ 1) เพื่อสร้างระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ 2) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ที่สร้างขึ้น 3) เพื่อประเมินรับรองระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์โดยผู้ทรงคุณวุฒิวิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 1) ศึกษาเอกสารหลักการทฤษฎีและงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะของนักเทคโนโลยีการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา และวิเคราะห์ระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาปัจจุบัน 2) พัฒนาร่างระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ 3) ตรวจสอบคุณภาพของระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้เชี่ยวชาญ 4) ทดสอบประสิทธิภาพของระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ 5) ประเมินเพื่อรับรองระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์โดยผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ 1) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสนทนากลุ่ม (Focus Group) คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม จำนวน 17 คน 2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบประสิทธิภาพระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์คือ นิสิตฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาจำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1. ระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ 2. แบบประเมินคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ก่อน ระหว่างและหลังการฝึกปฏิบัติงาน 3. แบบประเมินรับรองระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัย 1. ระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน และวัตถุประสงค์ 2) องค์ประกอบของการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ ได้แก่ นิสิต อาจารย์นิเทศก์ อาจารย์พี่เลี้ยง ภาควิชา หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ และคู่มือการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ 3) ขั้นตอนของระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ประกอบด้วย การเลือกหน่วยงาน การสัมมนาก่อนฝึกงาน การปฏิบัติงานระยะแรก การประเมินก่อนพัฒนา การสัมมนาระหว่างฝึกงานการปฏิบัติงานระยะหลัง การสัมมนาหลังฝึกงานและการประเมินหลังการพัฒนา 4) คุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณลักษณะด้านพื้นฐานของนักเทคโนโลยีการศึกษา และคุณลักษณะด้านคุณธรรม/จริยธรรม 5) ขั้นตอนการพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ มี 4 ขั้น คือ รู้ คิด ปฏิบัติ และประเมิน 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพ E1/E2= 75.66 /76.61 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. ผลการการประเมินรับรองระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณลักษณ์ที่พึงประสงค์จากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในเกณฑ์ “เหมาะสมมาก” th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การฝึกงาน th_TH
dc.subject คุณลักษณะที่พึงประสงค์ th_TH
dc.subject เทคโนโลยีทางการศึกษา th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การพัฒนาระบบการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ th_TH
dc.title.alternative A development of educational technology profession practicum system for ideal characteristics development en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 7
dc.year 2556
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were: 1) To develop the educational technology profession practicum system for ideal characteristics development. 2) To validate the efficiency of the educational technology profession practicum system for ideal characteristics development. 3) To evaluate and validate the educational technology profession practicum system for ideal characteristics development by the specialists. The process of this research was: 1) To review literature and research papers and survey the status, the problems and the needs of the educational technology profession practicum system. 2) To develop the educational technology profession practicum system prototype. 3) To validate the educational technology profession practicum system prototype by the experts. 4) To validate the efficiency of the educational technology profession practicum system prototype. 5) To evaluate and validate the educational technology profession practicum system prototype by the specialists. The samples were: 1) 17 experts in educational technology and experts in moral development for focus group 2) 40 undergraduate students who registered for 423460 Educational Technology Profession Practicum: second semester of academic year 2009. The instruments used in this research were: 1) The educational technology profession practicum system for ideal characteristics development. 2) The pre-test, work sheet and post-test. 3) The evaluation and validation forms. The research results were as follows: 1. The educational technology profession practicum system for ideal characteristics development was composed of: 1) Philosophy, vision, mission and objectives. 2) The elements of the practicum system comprised trainees, the supervisors, the trainers, the department, the training units, the roles and the practicum handbook. 3) The process and activities of the practicum systems comprised selecting the practicum site, pre-practicum seminar, first phase practicum, pretest, practicum seminar, second phase practicum, post-practicum seminar and posttest. 4) The ideal characteristics covered educational technologist’s basic characteristics and moral characteristics. 5) Four steps for ideal characteristics development were compose of knowing, thinking, doing and evaluating. 2. The result of efficiency validating was E1/E2 = 75.66 /76.61 which met the set criterion. 3. The specialists validated the educational technology profession practicum system for ideal characteristics at “highly appropriate”. en
dc.journal วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University
dc.page 28-41


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account