DSpace Repository

ปฏิบัติการและการต่อสู้ทางวาทกรรมในการพัฒนาอุตสาหกรรม: ศึกษากรณีการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด

Show simple item record

dc.contributor.author ชัยณรงค์ เครือนวน
dc.contributor.author มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:21:27Z
dc.date.available 2019-03-25T09:21:27Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3245
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวาทกรรมกระแสหลักวาทกรรมต่อต้านและการต่อสู้ทางวาทกรรมในการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด ผลการศึกษาพบว่า วาทกรรมกระแสหลักเป็นผลผลิตจากกระบวนการผลิตซ้ำเพื่อสืบทอดอุดมการณ์ทุนนิยมที่เกิดขึ้นจากพันธมิตรของกลุ่มชนชั้นนำ ส่วนวาทกรรมต่อต้านมีสองลักษณะคือ วาทกรรมต่อต้านที่เกิดขึ้นจากเครือข่ายชนชั้นกลางฯ ซึ่งมีอุดมการณ์นิเวศนิยมและวาทกรรมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มชาวบ้านรากหญ้าที่ผู้ประกอบการรายย่อยซึ่งมีอุดมการณ์เพื่อสร้างความอยู่รอดเพื่อให้ตนเองอยู่ได้ในสังคมอุตสาหกรรม ด้วยความแตกต่างอันเกิดจากความหลากหลายทางวาทกรรมเช่นนี้จึงนำไปสู่การต่อสู้ทางวาทกรรมระหว่างผู้กระทำการกลุ่มต่าง ๆ โดยพันธมิตรของกลุ่มชนชั้นนำได้ต่อสู้ทางวาทกรรมเพื่อรักษาอำนาจนำและครองความเป็นเจ้าทางวาทกรรมขณะที่เครือข่ายชนชั้นกลางฯ ต้องการล้มความเป็นเจ้าทางวาทกรรมและครองอำนาจนำในภาคประชาสังคม ส่วนชาวบ้านรากหญ้า ฯ ต้องการสร้างความอยู่รอดและความชอบธรรมให้กับตนเอง th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การพัฒนาอุตสาหกรรม - - ไทย - - มาบตาพุด (ระยอง) th_TH
dc.subject วจนะวิเคราะห์ th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.subject วจนะวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ th_TH
dc.title ปฏิบัติการและการต่อสู้ทางวาทกรรมในการพัฒนาอุตสาหกรรม: ศึกษากรณีการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด th_TH
dc.title.alternative Discursive practice and counter-discourse on industrial development: A case study of industrial development of the Map Ta Phut model en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 7
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The objectives of this study are to study dominant discourse, counter-discourse, and counter-hegemony discourse in the industrial development of the Map Ta Phut Model. The study revealed that dominant discourse has derived from a reproduction of capitalism ideology of the elites' alliances. Meanwhile, counter-discourse can be divided into two types; counter-discourse rising from relation to middle class groups of people with ecologist ideology and counter-discourse rising from grassroots or SME entrepreneurs with ideology of survive and keep existence of industrial society. From this perspective, a contestable matter has taken place among different activists group for retaining powers and dominate their discourse perspective. As a consequence, the alliance of middle-class need to overcome and dominate in civil society, meanwhile, community villagers fight for survival reason and their own legitimacy. en
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law.
dc.page 223-245.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account