DSpace Repository

บทวิเคราะห์ธรรมาภิบาลตามแนวคิดปรัชญาเต๋า

Show simple item record

dc.contributor.author สรชัย ศรีนิศานต์สกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:21:27Z
dc.date.available 2019-03-25T09:21:27Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3244
dc.description.abstract แนวคิดอุดมการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันล้วนแล้วแต่มีพื้นฐานมาจากปรัชญาการเมืองที่พัฒนาขึ้นในซีกโลกตะวันตกแทบทั้งสิ้น ทั้งที่การเมืองเป็นสิ่งที่ดำรงอยู่ในสังคมมนุษย์ทุกที่ทั่วโลก จึงนำไปสู่ข้อสงสัยว่า เหตุใดจึง ไม่ปรากฏว่ามีการนำเอาแนวคิดปรัชญาการเมืองแบบตะวันออกมาใช้บ้าง ในบทความนี้ผู้วิจัยจึงมุ่งเปรียบเทียบหลักธรรมาภิบาลกับแนวคิดในปรัชญาเต๋า เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเหมือนในความแตกต่างระหว่างธรรมาภิบาลกับปรัชญาเต๋า ที่ต่างก็มีจุดมุ่งหมายให้เกิดการปกครองที่ดีงาม หรือคุณธรรมในการปกครอง ขณะที่แนวคิดปรัชญาการเมืองตะวันตกต่างมุ่งแสวงหาอุดมการณ์ทางการเมืองและพยายามคิดค้นวิธีการปกครองอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการสร้างหลักเกณฑ์ ออกกฎระเบียบต่าง ๆ แต่ปรัชญาเต๋ากลับเห็นในทางตรงกันข้ามเต๋ากลับมุ่งนำเสนอการปกครองที่สอดคล้องกับวิถีทางแห่งธรรมชาติ นั่นคือผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครองไม่แปลกแยกออกจากกัน ดังนั้น ปรัชญาเต๋าจึงไม่ได้มุ่งแสวงหาอุดมการณ์ทางการเมือง และสร้างเสริมกฎระเบียบต่าง ๆ แต่กลับมุ่งแสวงหาความชอบธรรมในการปกครองนั่งเอง งานวิจัยนี้มองว่า ธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือขั้นต้นที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาเพื่อเป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป ขณะที่แนวคิดปรัชญาเต๋าได้เสนอแนะว่าในการปกครอง ผู้ปกครองต้องสังเกต เรียนรู้ และเข้าใจถึงธรรมชาติทางการเมือง และไม่ยึดติดกับอำนาจ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การพัฒนาประเทศ th_TH
dc.subject ธรรมรัฐ th_TH
dc.subject ประชาธิปไตย th_TH
dc.subject สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ th_TH
dc.title บทวิเคราะห์ธรรมาภิบาลตามแนวคิดปรัชญาเต๋า th_TH
dc.title.alternative Analysis on good governance by Tao's philosophy perspective
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 6
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The Political Philosophy is almost based on the western thought. This article aimed at comparative studies between good governance and the classic Chinese philosophy of Tao While the western thought aimed at searching methods of management by rules and orders, but propose of Tao's philosophy is the rule on natural way. Tao's political philosophy is not focus on rule and order but interesting in the rule without rule by building legitimacy for governance. This article look at good governance is thought for political development while Tao's political philosophy suggest ruler or governor should govern as following the natural way. The rulers' interests should be public's interests and the ruler must have the vision for Good Governance. en
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law
dc.page 77-102.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account