dc.contributor.author |
เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
นัฐกานต์ นามนิมิตรานนท์ |
|
dc.contributor.author |
เสาวลักษณ์ โรมา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:21:26Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:21:26Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3232 |
|
dc.description.abstract |
การครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนด้วยการจัการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในวิชาเคมีพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในกาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษปีที่ 4 โรงเรียนระยองวิทยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 38 คนซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการาวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจำนวน 4 แผน วิชาเคมีพื้นฐานของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะไออนิก และแบบทดสอบการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.72 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test แบบ Dependent sample ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน |
th_TH |
dc.subject |
การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
วิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
th_TH |
dc.subject |
เคมี - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
th_TH |
dc.title |
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ในวิชาเคมีพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Problem-based learning to promote scientific reasoning on basic chemistry 10th grade students |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
3 |
|
dc.volume |
26 |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research study was to develop scientific reasoning with problem-based learning
for 〖10〗^th grade students on Basic Chemistry. The participants in this research were thirty-eight 〖10〗^th grade students at Rayongwittayakom School, in the first semester of the 2014 academic year. They were selected by using the cluster random sampling technique. Instruments were four lesson plans of problem – based learning on lonic Bond and a scientific reasoning test with reliability of 0.72. The data were analyzed by using t-test for Dependent sample. This study shows the scientific seasoning with the problem – Based Learning at the significance level .05. |
en |
dc.journal |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education Burapha University |
|
dc.page |
65-76. |
|