DSpace Repository

การพัฒนารูปแบบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.author พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ
dc.contributor.author เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม
dc.contributor.author พงษ์เทพ จิระโร
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:21:24Z
dc.date.available 2019-03-25T09:21:24Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3208
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยวิธีการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods) ดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอนประกอบด้วย 1) การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน จากการวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) การสัมภาษณ์แบบเชิงลึกรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จจากสถานศึกษาทั้ง 3 แห่ง ศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากผู้บริหารและครู ในโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 9 แห่ง 2) พัฒนารูปแบบ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบรับรองรูปแบบจำนวน 9 คน 3) ทดลองรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group Posttest Only Design โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กับโรงเรียนวัดทุ่งยายชี และ ประเมินผลการทดลองการใช้รูปแบบ โดยใช้เทคนิคการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) และเทคนิคสนทนากลุ่ม (Focus Group) ด้วยการเลือกอย่างเจาะจงผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 24 คน 4) ประเมินความเป็นไปได้ของรูปแบบ โดยการจัดสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) จำนวน 8 คน ด้วยการเลือกอย่างเจาะจง ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นข้อกำหนดทั่วไป 2) ขั้นนโยบายสิ่งแวดล้อม 3) ขั้นการวางแผน 4) ขั้นการนำไปปฏิบัติ 5) ขั้นการตรวจสอบ 6) ขั้นการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ผลการประเมินรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ปฏิบัติในโรงเรียน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การจัดการสิ่งแวดล้อม th_TH
dc.subject ไอเอสโอ 14001 th_TH
dc.subject สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การพัฒนารูปแบบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 10
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to develop research aims by developing a model for environmental Management System by ISO 14001 for schools under the Office of Basic Education Commission by using a Mixed method Research . The research consists of four steps 1) analyzed baseline data by doing in depth interview from 3 purposive sampling from successful schools in ISO 14001 management and using questionnaires to collect circumstance and problem based information about ISO 14001 management from the administrators and teachers in the 9 sample schools 2) developed model by discussing and inspecting with provided expert persons who are taken from purposive sampling to authenticate the model 3) do One Group Posttest Only Design experimental practice by using the model in the purposive sampling is Watthungyayshee school and evaluated by using Workshop and Focus Group technique among the 24 sampling specialist 4) Evaluated possibility of the model by using Connoisseurship technique with a selection of 8 purposive sampling. The results showed that a model of environmental management development based on ISO 14001 of schools under the office of basic education commision consists of six steps: 1) General Requirements 2) Environmental Policy 3) Planning 4) Implementation 5) Checking 6) Management Review the results of evaluating model found that these six step can be applied to use practically in schools under the Office of Basic Education Commission en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 210-222.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account