DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อกับความพึงพอใจในการศึกษาระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาของนิสิตศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.author เดือนเพ็ญ จันทร์ขาว
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:21:16Z
dc.date.available 2019-03-25T09:21:16Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3095
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อและความพึงพอใจในการศึกษาระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ของนิสิตศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา มหาวิทยาลัยบุรพา จำแนกตามอายุ ภุมิภาคของสถานที่ทำงาน สถานภาพ รายได้ และโปรแกรมการศึกษา รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อกับความพึงพอใจในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 260 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 2 ฉบับ สอบถามเกี่ยวกับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อกับความพึงพอใจในการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีค่าความเชื่อมั่น 0.95 และ 0.94 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านภาพลักษณ์ ด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนอยู่ในระดับปานกลาง 2. ความพึงพอใจในการศึกษาระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนอยู่ในระดับปานกลาง 3. การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อจำแนกตามภูมิภาคของสถานที่ทำงาน สถานภาพ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนจำแนกตาม อายุ รายได้ และโปรแกรมการศึกษา โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. ความพึงพอใจในการศึกษาต่อจำแนกตาม อายุ สถานภาพ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนจำแนกตาม ภูมิภาคของสถานที่ทำงาน รายได้ และโปรแกรมการศึกษา โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 5. การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อกับความพึงพอใจในการศึกษาระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ของนิสิตศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีความสัมพันธ์กันอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การบริหารการศึกษา - - การศึกษาและการสอน th_TH
dc.subject การศึกษาขั้นอุดมศึกษา - - การตัดสินใจ th_TH
dc.subject การศึกษาขั้นอุดมศึกษา th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อกับความพึงพอใจในการศึกษาระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาของนิสิตศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 10
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative This research aimed to find out the decision-making for college choice and satisfaction on studying of the master degree students of Innovative Administration and Educational Leadership Center students as classified by age. geographical region of work place, social status, income and program of study; as well as to find out the relationship between decision-making for college choice and satisfaction on studying of the master degree. The samples were 260 master degree students of the Innovative Administration and Educational Leadership Center. The research instruments were two sets of questionnaires concerned the decision-making for college choice and satisfaction on studying with the reliability values were 0.95 and 0.94 respectively. The statistical devices employed were mean, standard deviation. One-way analysis of variance and Pearson Product Moment Correlation The findings were that; 1. The decision-making for college choice of master degree students in Educational Administration program as a whole and by dimension were rated at high level; however for the image of the department it was rated at moderate level. 2. The satisfaction of studying on master degree level in Education Administration as a whole and by dimension were rated at high level; but for teaching tools was rated at moderate level. 3. The decision-making classified by age, geographical region of work place, social status, were significantly difference at .05 level; but when classified by age, income and program of study, there were non-significant difference. 4. The satisfaction of studying classified by age ang social status, were statistical significantly difference at .05 level, but when classified by geographical, income and program of study, there were non-significant difference. 5. The decision-making for college choice and satisfaction of students on studying at the Innovative Administration and Educational Leadership Center was found to be moderate correlated at the significant level of .05 en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 255-266.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account