dc.contributor.author |
นุจรี ไชยมงคล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:20:16Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:20:16Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3040 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจหาความสัมพันธ์แบบสหสัมพันธ์และแบบการ ทำนายด้วยสมการถดถอยพหุคูณ เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายของปัจจัยพื้นฐานทางครอบครัว และความฉลาดทางอารมณ์ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของนิสิตพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา เก็บข้อมูลนิสิตชั้นปีที่ 3 และ 4 ภาคปกติทุกคนที่ยินดีให้ความร่วมมือ จํานวน 253 คน เรี่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลทั่วไปและลักษณะ ครอบครัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบประเมินพฤติกรรมวัยรุ่น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ คูณ ผลการวิจัยพบว่านิสิตที่มีความ ลาดทางอารมณ์สูงจะมีพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม (r=.63, p<.001) และเมื่อจำแนกความฉลาดทางอารมณ์ เป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านดี ด้านเก่ง และค้นพบว่ามีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการแสดงออกที่ไม่เหมาะสมด้วยเช่นกัน (r= - 43, p<.001, r = -, 58, p<,001, และ r = - 61, p< .001, ตามลำดับ) ทั้งนี้พบว่าปัจจัย พื้นฐานทางครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการแสดงออก ตัวแปรอิสระเพียงตัว เดียวคือความฉลาดทางอารมณ์ที่สามารถพานายพฤติกรรมของนิสิตพยาบาลได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการแสดงออกของ นิสิตพยาบาลร้อยละ 40.0 ดังนั้นสถาบันการศึกษาพยาบาลควรจัดการศึกษาให้นิสิตพยาบาล โดยมีโปรแกรมการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้นิสิตมีโอกาสพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้มีการแสดงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น |
th |
dc.description.abstract |
This survey research was to examine impact to family background and emotional intelligence on behavior of undergraduate nursing students. The sample included 253 junior and senior nursing students , Barapha University. Data were collected by using a demographic and family background record and two questionnaires of emotional intelligence and adolescent behavior. Statistical techniques included frequency, percentage, standard deviation, Pearson correlation coefficient, and multiple regression analysis. Results of the study revealed that the students who had high emotional intelligence would have low inappropriate behavior (r = -63, p<.001). Three dimensions of emotional intelligence, good, smartness and happiness, were also negatively associated with the behavior (r=-43, p<.001, r=-,58, p<.001, and r=-61, p<.001, respectively). However, there were no significant correlation between family background and the behavior. Emotional intelligence was the only significant predictor of the students' behavior. It accounted for 40.0% of the variance in the behavior. These findings suggested that nursing institutes should provide environment and learning activities to the students to enhance and increase their emotional intelligence resulting in lower their inappropriate behavior. |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ครอบครัว |
th_TH |
dc.subject |
ความฉลาดทางอารมณ์ |
th_TH |
dc.subject |
นักศึกษาพยาบาล |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
ปัจจัยพื้นฐานครอบครัวและความฉลาดทางอารมณ์ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
การแสดงออกของนิสิตพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Impact of family background and emotional intelligence on social behavior of undergraduate nursing students, Burapha University |
|
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
2 |
|
dc.volume |
14 |
|
dc.year |
2549 |
|
dc.journal |
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University |
|
dc.page |
49-61. |
|