DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน สังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์
dc.contributor.author พรวิมล ขันเคน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.available 2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2937
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนและวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียนสังกัดเมืองพัทยา และสร้างสมการพยากรณ์วัฒนธรรมองค์การของโรงเรียนและจากตัวแปรภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในโรงเรียนสังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี จำนวน 248 คนได้มาจาการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) ใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นโดยกำหนดขนาดโรงเรียนเป็นชั้นในการสุ่ม และสุ่มอย่างง่ายเพื่อให้ได้รายชื่อกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม มี 2 ฉบับ ประกอบด้วย แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา และแบบสอบถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ .25-.86 และ.42 ถึง .84 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .98 และ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนและวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน สังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. การเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน จำแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เมื่อจำแนกตามประเภทโรงเรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การ จำแนกตามขนาดของโรงเรียนและประเภทโรงเรียนโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารโรงเรียนที่มีอำนาจพยาการณ์วัฒนธรรมองค์การ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 3 ด้าน คือ การเป็นผู้สร้างความสัมพันธ์กับผู้ตามเป็นรายบุคคล (X4) การเป็นผู้สร้างแรงดลใจ ( X2 ) และการเป็นผู้กระตุ้นให้ใช้สติปัญญา (X3) ได้สมการพยาการณ์วัฒนธรรมองค์การของโรงเรียนในรูปสมการคะแนนดิบคือ Y^ = .854 + .304 (X4) + .250(X2) + .222(X3) Z = .366ZX4 + .262ZX2 + .254ZX3 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ผู้บริหารโรงเรียน th_TH
dc.subject ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง th_TH
dc.subject วัฒนธรรมองค์การ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน สังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative The relationship between transformational leadership of school administrators and school culture in Pattaya municipality, Chonburi province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 26
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative Abstract The purposes of this research were to study the relationship between transformational leadership of school administrators and school culture in Pattaya Municipality, as well as to predict school culture from the variables of transformational leadership. The participants used in this research were 248 teacher who taught in schools under Pattaya Municipality, selected by using The table of sample size (Krejcie & Morgan, 1970), the stratified random sampling (from school size) and the simple random sample random sampling technique. The research instruments used in this research were 2 questionnaire asking about transformational leadership of school administrators and school culture. The discrimination value of the questionnaires were .25 and .86 with the reliability values of .42and .84 respectively. The statistical devices used used in this research were mean, standard deviation,t-test, and stepwise multiple regression. The findings were as follows: 1. The transformational leadership of school administrators and school culture under Pattaya Municipality was rated at moderate level. 2. Comparing transformational leadership of school administrators, as classified by school size as a whole was significantly different, but when classified by school type as a whole, there was a non-significant difference. 3. Comparing school culture, classified by school size and school type, there was a non-significant difference. 4. There components of transformational leadership of school administrators were significantly predicted school culture at the .50 level ; they were individualized consideration (X4), inspiration motivation (X2) and intellectual stimulation (X3). The prediction of raw data equation was Y^ = .854 (X4) + .304(X4) +.250(X2) + .222 (X3) and the prediction of standard score was Z = .366ZX4+ .262ZX2 +.254ZX3 en
dc.journal วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University
dc.page 198-209.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account