dc.contributor.author |
นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร |
|
dc.contributor.author |
สุพัชรินทร์ ปานอุทัย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:18:53Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:18:53Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2794 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาในนักกีฬาระดับอุดมศึกษาไทย ที่นำมาจากแบบสอบถามแหล่งความเชื่อมั่นทางกีฬา (Source of Sport confidence Questionnaire: SSCQ) ของ Vealey, Hayashi, Garner & Giacobbi) (1998) หลังจากการแปลกลับแบบสอบถามแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาฉบับภาษาอังกฤษเป็นแบบภาษาไทยแล้ว แบบสอบถามแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาฉบับภาษาไทยถูกนำไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวิย่างจำนวน 400 คน มีอายุระหว่าง 18-24 ปี (20.58+ 1.6 ปี) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาของนักกีฬาระดับอุดมศึกษาไทยมาจาก 3 ด้าน คือ ด้านความสำเร็จในงานที่กระทำด้านการกำกับตัวเอง และด้านวัฒนธรรมของสังคม (X2/ df = 211 FGI = 0.89, AGFI =087, NNFI = 0.98, CFI = 0.98, RMSEA = 0.053) จำนวน 8 องค์ประกอบ คือ การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ และทักษะกีฬา การแสดงความสามารถ การนำเสนอตนเองทางร่างกาย การสนับสนุนจากสังคม ความเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอน การมีประสบการณ์ผ่านผู้อื่น การได้รับความสะดวกสบายจากสภาพแวดล้อม และความพึงพอใจต่อสถานการณ์ (X2/df = 2.07. GFI = 0.91, AGFI = 0.88, NNFI = 0.98, CFI = 0.98 RMSEA = 0.048) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแต่ละองค์ประกอบและค่าความเชื่อมั่นของแต่ละองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.79-0.91 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ความเชื่อมั่น |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.subject |
อุดมศึกษาไทย |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาแบบสอบถามแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาในนักกีฬาระดับอุดมศึกษาไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
The development of sourcescof sport confidence in Thai college athletes |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
6 |
|
dc.year |
2552 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to develop and validate of source of sport confidence questionnaire (SSCQ) when used with 400 Thai athletes from 18 to 24 years of age (20.58+ 1.6 yrs). The SSCQ was developed by vealey Hayashi. Garner & Giacobbi (1998) and translated into Thai language. This study on process of translation. Result indicated that the source of sport confidence questionnair. Thai versions were correct and approprate for Thai college athletes We performed a confirmatory factor analysis Result indicated that source of sport confidence of Thai college athletes come from achievement self regulation and social culture. (X2/df = 2.11, GFI = 0.89, AGFI = 0.87, NNFI = 0.98, CFI = 0.98, RMSEA = 0.053) eight factor physical mental and skill preparation, demonstration of ability, physical self presentation. social support coaches leadership. vicarious experience. environment comfort and situation favorabieness (X2/ df = 2.07 =, GFI = 0.91 AGFI = 0.88 NNFI = 0.98, CFI = 0.98, RMSEA = 0.048). alpha reliability of its subscale were 0.79 -0.91 and the composite reliability scale were 0.79-0.91 |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา |
|
dc.page |
82-97. |
|