DSpace Repository

การสร้างชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานนิวเคลียร์และกัมมันตภาพรังสี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม (STS)

Show simple item record

dc.contributor.author วารุณี ศรีงาม
dc.contributor.author อารมณ์ เพชรชื่น
dc.contributor.author ไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:47Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:47Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2712
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานนิวเคลียร์และกัมมันตภาพรังสี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม (STS) และศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยา ศาสตร์ก่อนและหลังเรียนด้วยชุดการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 44 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานนิวเคลียร์และกัมมันตภาพรังสี โดยใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และแบบสอบถามวัดจิตวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานนิวเคลียร์และกัมมันตภาพรังสี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม (STS) มีประสิทธิภาพ 89.77/84.06 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดการสอนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การสอนด้วยสื่อ. วิทยาศาสตร์ - - การสอนด้วยสื่อ th_TH
dc.subject วิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การสร้างชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานนิวเคลียร์และกัมมันตภาพรังสี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม (STS) th_TH
dc.title.alternative A construction of science instructional packages on nuclear energy and radioactivity for Matthayomsuksa IV students by using science technology and society approach (STS) en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 9
dc.year 2556
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to construction and calculating efficiency of science instructional packages on nuclear energy and radioactivity for Matthayomsuksa IV students by using Science Technology and Society approach (STS) and to study the science learning achievement, the science process skills, and the scientific mind before and after studying with instructional package.The sample of this research consisted of 44 Matthayomsuksa IV students. They were selected by random – sampling technique from students at Pluakdangpittayakom School, Pluakdang District, Rayong Province in the first semester of 2013. The research instruments consisted of science instructional package on nuclear energy and radioactivity using Science Technology and Society approach (STS), lesson plans, the science learning achievement test, the science process skills test, and the scientific mind questionnaires. The data was analyzed through percentage, means, standard deviation, and t-test. The results of this research had shown as follow: 1. The efficiency of the science instructional package on nuclear energy and radioactivity for Matthayomsuksa IV students by using Science Technology and Society approach (STS) was at 89.77/84.06 2. The science learning achievement, the science process skills, and the scientific mind of students after studying with the instructional package was significantly higher than before studying at the .01 level en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 186-198.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account