dc.contributor.author |
ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์ |
|
dc.contributor.author |
กฤษณา กิมเล่งจิว |
|
dc.contributor.other |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:18:46Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:18:46Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2695 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการกำหนดนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์, วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, ผลกระทบของการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์และต่อแรงงานไทย, ข้อเสนแนะแนวทางในการบริหารทรัพยากรมนุษย์และแนวทางในการปรับตัวของแรงงานไทยในยุคของการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนโดย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือผู้บริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์หรือด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรภาคอุตสากรรมการผลิตในเขตจังหวัดชลบุรี จำนวน 10 คน ใช้วิธีวิจัยเขิงคุณภาพโดยเครื่องมือในการวิจัยคือคำถามกึ่งโครงสร้างสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก
จากการวิจัยพบว่านโยบายการบริการทรัพยากรมนุษย์ในสภาวะปกติสรุปได้เป็น 11 นโยบายและวิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสภาวะปกติสรุปได้เป็น 8 วิธีส่วนนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในสภาวะการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนสรุปได้เป็น 2 ประเภทหลักคือ ประเภทที่ 1 นโยบาย
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงพบว่ามี 7 องค์กรและประเภทที่ 2 นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงมี 3 องค์กร มี 3 นโยบาย ส่วนวิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสภาวะการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนสรุปได้ 3 ประเภท โดยประเภทที่ 1 คือ วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงมี 3 วิธี ประเภทที่ 2 วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงมี 5 วิธีและประเภทที่ 3 วิธีการพัฒนากรมนุษย์ที่มีการเพิ่มขึ้นมี 2 วิธีในด้านผลกระทบ
ตั้งแต่มีการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์กลุ่มตัวอย่างไม่ได้กล่าวถึง
ผลกระทบเลยคือ ด้านการบริหารผลปฏิบัติงานและด้านแรงงานสัมพันธ์ รวมทั้งสรุปได้ว่า
มี 4 องค์กรที่ไม่ได้กล่าวถึงผลกระทบ ในขณะเดียวกันมี 6 องค์กร ได้แสดงความคิดเห็นโดยคาดว่าจะมีผลกระทบเกิดขึ้นทั้งด้านบวกและด้านลบ แบ่งได้เป็น 5 ด้านคือ 1) การวิเคราะห์และการออกแบบงาน 2) การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 3) การสรรหาและคัดเลือก 4) การฝึกอบรมและการพัฒนา 5) การบริหารค่าตอบแทน ด้านผลกระทบต่อแรงงานไทย จากการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน
กลุ่มตัวอย่างคาดว่าแรงงานไทยจะได้รับผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบรวม 3 ด้าน คือ 1 ด้านค่าจ้าง 2) ด้านทักษะ-ศักยภาพ และ 3) ด้านการมีงานทำ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ |
th_TH |
dc.subject |
ทรัพยากรมนุษย์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเศรษฐศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
อุตหสากรรมการผลิต - - ไทย - - ชลบุรี |
th_TH |
dc.subject |
เขตการค้าเสรีอาเซียน |
th_TH |
dc.subject |
แรงงาน |
th_TH |
dc.title |
ผลกระทบของการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรภาคอุตสาหกรรมการผลิตในเขตจังหวัดชลบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
Impacts of the Asean free trade area on human resources management by production factories in Chon Buri province |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
2 |
|
dc.volume |
6 |
|
dc.year |
2554 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this this research is to study policy setting for human resources management, methods of developing human resources, impacts of the ASEAN free trade area (FTA) on human resources and Thai labor, recommendations for human resources management and ways to adjust for Thai labor. The sample group consisted of 10 managers in human resources and human resources development at production factories in Chonburi. Qualitative research was used in the study with semi-structured questions used for in-depth interviews.
From the research it was found that human resources management policy in normal conditions for an organization can be summarized into 11 policies and methods for human resources development in normal conditions can be summarized into 8 methods. Policy for human resources management under ASEAN FTA conditions can be summarized in 2 main categories, the first category being policy on human resources management that did not change which was the case for 7 organizations. The second category was human resources policy that changed, which was the case for 3 organizations and can be categorized in 3 policies. Methods for human resources development under ASEAN FTA conditions can be summarized in three main categories. The first category is methods in human resources development with no change, which can be divided in 3 categories. The second category is human resources development which showed changes and were found to have 5 methods and the third category which had an additional two categories. The sample group did not comment on the impacts on human resources management since the ASEAN FTA was in place. This is specifically management of outputs and labor relations and four organizations did not mention impacts. The 6 organizations that did express opinions expected three to be impacts both positive and negative in 5 ways: 1) analysis and design, 2) human resources planning, 3) recruiting and selection, 4) training and development, 5) management of compensation. Impacts on Thai labor are expected to be positive and negative including 1) compensation 2) skills-capacity and 3) employment. |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review |
|
dc.page |
91-102. |
|