DSpace Repository

คุณภาพบริการในทัศนะของผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียนอนุบาล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย

Show simple item record

dc.contributor.author ฤทธี ชูเกียรติ
dc.contributor.author ศิลาวัลย์ วินากร
dc.contributor.author ปติ พุทธวิบูลย์
dc.contributor.author นภดล เดชประเสริฐ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:16:07Z
dc.date.available 2019-03-25T09:16:07Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2594
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาคุณภาพบริการในทัศนของผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียนอนุบาลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในแภอท่าลี่ จังหวัดเลย ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองที่มีบัตรหลานอายุระหว่าง 3-6 ปี และมีบุตรหลานศึกษาอยู่ในโรงเรียนอนุบาลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก (Convenience sampling) โดยการแจกแบบสอบถามให้กับผู้มารับบริการที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ จำนวน 400 ตัวอย่างในช่วงระยะเวลาที่ได้กำหนดไว้ในการจัดเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณา ส่วนการทดสอบสมมติฐานและความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ด้วยการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับประถม มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 3,001-6,000 บาท ประกอบอาชีพเกษตรกร มีปัจจัยคุณภาพบริการ และกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บริการอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานประชากรศาสตร์เปรียบเทียบกับคุณภาพบริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านความเชื่อถือได้ ด้านการตอบสนองลูกค้า ด้านความเชื่อมั่น และด้านการเข้าใจถึงจิตใจ อยู่ในระดับมาก (M=3.44,3.63,3.66,3.72,3.62 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และประชากรศาสตร์เปรียบเทียบกับกระบวนการตัดสินใจ ด้านการตระหนักถึงปัญหาและความต้องการ ด้านการแสวงหาข้อมูล ด้านการประเมินทางเลือก และด้านการตัดสินใจซื้อ อยู่ในระดับมาก (M=3.65,3.55,3.64,3.59 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และผลการสกัดปัจจัย (Factor analysis) ตัวแปรในส่วนของกระบวนการตัดสินใจจากการวิเคราะห์ผลสามารถสกัดปัจจัยโดยได้กรอบความสัมพันธ์ใหม่ทั้งหมด 4 ปัจจัยใหม่ ที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจ ประกอบด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับสิ่งที่ต้องการเลือก ความปรารถนาและต้องการเลือกที่แตกต่าง ความต้องการด้านคุณภาพกับการให้บริการของโรงเรียน และการเสาะแสวงหาข้อมูลจากทางเลือกที่หลากหลาย th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject บริการลูกค้า th_TH
dc.subject โรงเรียนอนุบาล - - การบริหาร th_TH
dc.subject โรงเรียนอนุบาล th_TH
dc.title คุณภาพบริการในทัศนะของผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียนอนุบาล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 5
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative This study is aimed to examine guardian's attitude towards service quality of per-school children development center in Tha Li District, Loei Province. Based on purposive sampling, guardians of children aged 3-6 years old are selected as population, and 400 guardians are selected for samples using convenience sampling. Descriptive sratistic is used for data analysis. ANOVA is used for hypothesis test and coparison of means of both group. Factor show demographic correlation factor investigation. The findings show demographic charecteristics that educational level of the sample majority is primary school level. The occupation is farmer wuth batth 3,001-6,000 average salary. The quality service factors and decision making process are rated high. The results of demographic hypothesis test compares to service quality on physical characteristic, creditability, response to client's need, reliability, and understanding of client;s need are rated high (M=3.44,3.55,3.64,3.59 respectively) with statistic significance at 0.01. The result of factor analysis on variable reveal 4 factors related to decision making process those are 1) relationship between salary and the needed matter 2) different selection demand 3) need for quality and service, and 4) searching for information from various alternatives. en
dc.journal วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page 87-98.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account