DSpace Repository

การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้เพื่อยกฐานะวิทยาลัยครูสู่ความเป็นมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษาวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต

Show simple item record

dc.contributor.author สุภี เพชรดาวง
dc.contributor.author เกรียงศักดิ์ บุญญา
dc.contributor.author มนตรี แย้มกสิกร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:16:04Z
dc.date.available 2019-03-25T09:16:04Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2567
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยความเป็นไปได้ในวิทยาลัยครูสะหวันนะเขตที่มุ่งสู่ความเป็นมหาวิทยาลัย สำรวจความเป็นไปได้ในการยกฐานะวิทยาลัยครูสะหวันนะเขตเป็นมหาวิทยาลัย และเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและบุคลากรเกี่ยวกับการยกฐานะวิทยาลัยครูสู่การเป็นมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูงสำนักกระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารและบุคลากร สังกัดวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต ประจำปีการศึกษา 2552 จำนวน 111 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้บริหารระดับสูงสำนักงานกระทรวงศึกษาธิการส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นว่ามีความจำเป็นต้องยกฐานะวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต เป็นมหาวิทยาลัยสร้างครูสะหวันนะ แต่ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาเพิ่มเติมหลายด้าน โดยเฉพาะด้านบุคลากร 2. ผู้บริหารและบุคลากรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความพร้อมทั้ง 6 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน อาคารสถานที่ และงบประมาณ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3. เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความพร้อมเพื่อยกฐานะวิทยาลัยครูสู่การเป็นมหาวิทยาลัย ของผู้บริหาร และบุคลากร สังกัดวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต ทั้ง 6 ด้าน พบว่า ผู้บริหารและบุคลากรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความพร้อมเพื่อยกฐานะวิทยาลัยครูสู่การเป็นมหาวิทยาลัย ไม่แตกต่างกัน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การศึกษาความเป็นไปได้ th_TH
dc.subject วิทยาลัยครู - - การบริหาร - - ลาว th_TH
dc.subject วิทยาลัยครูสะหวันนะเขต - - การบริหาร th_TH
dc.subject สถาบันอุดมศึกษา - - การบริหาร - - ลาว th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา
dc.title การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้เพื่อยกฐานะวิทยาลัยครูสู่ความเป็นมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษาวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต th_TH
dc.title.alternative The study of opinions towards feasibility for upgrading the status of teacher college to university : A case study for Savanakate Teacher College en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 23
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were: 1) to examine feasible factors contributing to upgrading the status of Savannakhet Teacher College to University; 2) to investigate the feasibility of upgrading the status of a teacher college to become a university; and 3) to compare the opinions of administrators and personnel of Savannakhet Teacher College towards readiness for upgrading the status of a teacher college to university. The population of the study consisted of 7 top executives under the Office of the Ministry of Education, and 111 administrators and personnel of Savannakhet Teacher College in the academic year 2009. An interview form and a questionnaire were the instruments used for collecting the data. Percentage, mean standard deviation and t-test were statistical devices for the data analysis through Microsoft Excel. The findings revealed as followings: 1. Most of the top executives thought that it was a necessity and appropriateness to upgrade Savannakhet Teacher College to become a university. However, better improvement and development, especially in the aspect of personnel, should be carried out. 2. The opinions of administrators and personnel towards readiness in all six aspects, in general, were rated at a high level. On considering in each particular aspect, five aspects were also rated at a high level, except the aspect of budget, which was rated at a medium level. 3. In the comparison of the opinions concerning readiness of administrators and personnel towards upgrading the status of a teacher college to university in all six aspects, no significant differences were found. Also, on considering in each particular aspect, no significant differences were found. en
dc.journal วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page 128-137.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account