dc.contributor.author |
อนงค์ วิเศษสุวรรณ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:16:00Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:16:00Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2504 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาผลของการอบรมปฏิบัติการผ่อนคลายความเครียดของครูจังหวัดสระแก้วและจังหวัดตราด ครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จำนวน 94 คน เป็นกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มดดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง การอบรมปฏิบัติการใช้วิธีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ระยะเวลาการอบรม 2 วัน ก่อนการอบรมและหลังการอบรม วัดความเครียด 3 แบบ คือ ความตึงตัวกล้ามเนื้อ อุณหภูมิผิวหนัง และแบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า ครูใช้วิธีการผ่อนคลายความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ ความตึงตัวกล้ามเนื้อหลังการอบรมลดลงกว่าก่อนการอบรม อบ่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อุณหภูมิผิวหนัง หลังการอบรมเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่อย่างไรก็ตามผลการประเมินความเครียดจากแบบสอบถามแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อวิเคราะห์ระดับความเครียดจากแบบสอบถาม ครูที่มีความเครียดระดับปกติมีเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการอบรม |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การบริหารความเครียด |
th_TH |
dc.subject |
ครู - - ความเครียดในการทำงาน |
th_TH |
dc.subject |
ความเครียด (จิตวิทยา) |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
ผลการอบรมปฏิบัติการผ่อนคลายความเครียดของครู |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
14 |
|
dc.year |
2545 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to investigate the effects of relaxation training on stress reduction of teachers at Srakhaew and Trad Province. The sample of 94 teachers from the expansion project schools were selected by purposive sampling. The two days workshop were provided through the experiential learning approach. Teachers' stress were measured before and after the workshop. The three instruments were electromyograph (EMG) for muscle tension feedback, finger thermometer for skin temperature, and the Mental Health Department's stress questionnaire. The percentage, mean and t-test were used for data analysis. The results revealed that the teachers were able to manage stress effectively. The electromyograph feedback were significantly decreased after the training. The skin temperature after the training were significantly higher than before the training. The statistically differences were found at the .05 level in bith RMG feedback and skin temperature. However, there were no significant difference between the stress scores before and after the training. When examining those scores by the stress level, teachers indicated normal stress after the training more than before the training |
en |
dc.journal |
วารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education. |
|
dc.page |
65-78. |
|