DSpace Repository

จุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในกากน้ำตาลอ้อยและผลกระทบต่อการผลิตเอทานอลเพื่อเป็นเชื้อเพลิง

Show simple item record

dc.contributor.author ศิริโฉม ทุ่งเก้า
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/247
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการปนเปื่อนแบคทีเรียแลกติกในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้กากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบ โดยนำตัวอย่างจากกระบวนการผลิตมาแยกเชื้อบน MRS agar ผลการศึกษาพบแบคทีเรียแลกติกในน้ำหมักที่เก็บจากถังหมักปริมาณ 5.3-5.5 log CFU/ml จากการจัดจำแนกแบคทีเรียแลกติกที่พมากโดยวิธีทางชีวเคมีพบว่า Lactobacillus plantarum โดยมีลักษณะแตกต่างกันเป็น 2 สายพันธ์แลกำหนดเชื้อเป็น NP1 และ VK1 เมื่อนำแต่ละสายพันธ์นำมาศึกษาการเจริญร่วมกับยีสต์ Saccharomyces cerevisiae สายพันธ์ที่ผลิตเอทานอลในกากน้ำตาลเมื่อมีปริมาณแบททีเรียเริ่มต้นแตกต่างกัน 2 ระดับคือ 3 และ 6 log CFU/ml พบว่าทั้ง2 สายพันธ์ทำให้ยีสต์ผลิตเอทานอลได้ลดลง อัตราการลดลงแปรผันตามปริมาณเชื้อเริ่มต้นและขึ้นอยู่กับสายพันธ์โดยแบคทีเรียรหัส VK1 ยับยั้งการผลิตเอทานอลได้มากกว่าแบคทีเรียรหัส NP1 เมื่อมีปริมาณเซลล์เริ่มต้นเท่ากัน จากการวิเคราะห์น้ำหมักพบว่า L. plantarum ผลิตกรดแลกติกและกรดอะซิติกเมื่อเจริญในกากน้ำตาลร่วมกับยีสต์ซึ่งทำให้ค่าพีเอ๙ของน้ำหมักลดลง นอกจากนั้นยังศึกษาการทนเอทานอลของ L. plantarum ในกากน้ำตาลพบว่าการเจริญถูกยับยั้งเมื่อมีเอทานอลร้อยละ 3-4 ผลการศึกษาทั้งหมดทำให้เราพบว่ามีแบคทีเรียแลคติกปนเปื่อนในกระบวนการหมักเอทานอลในอุตสาหกรรมของประเทศไทยและแบคทีเรียส่งผลกระทบเชิงลบต่อการผลิตเอทานอลของยีสต์ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject กากน้ำตาลอ้อย th_TH
dc.subject เอทานอล th_TH
dc.subject เชื้อเพลิง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title จุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในกากน้ำตาลอ้อยและผลกระทบต่อการผลิตเอทานอลเพื่อเป็นเชื้อเพลิง th_TH
dc.type งานวิจัย
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative This research studied acid bacteria (LAB) concentration in an industrial fuel ethanol plant using cane molasses as raw material. Samples from production process were isolated for LAB on MRS agar. From the study, 5.3-5.5 log CFU/ml LAB was found in fermentation broth samples. Two pernominant isolates were identified biochemically and both were found to be Lactobacillus plantarum. Each L. plantarum strain, desingnated as NP1 and VK1, was inoculated in molasses medium at 3 and 6 log CFU/ml initial levels together with an indulated yeast, Saccharomyces cerevisiae, to study its ethanol Production of the yeast strain. The ethanol reduction rates varied according to initial bacterial loads and were strain- dependent, i.e. stonger rate by VK1 than by NP1. Lactic acid and acetic acid were detected in the fermentation broth of L. plantarum culture and accounted for pH reduction of the culture medium. The ability to tolerated ethanol in molasses of l. plantarum was also studied. It was found that growth of both LAB strains was inhibited with 3-4 % ethanal. Overall results confirmed LAB contamination problem in industrial fuel ethanol production process in Thailand and this caused negative effect towards ethanol production of the yeast. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account