dc.contributor.author |
ฉลวย มุสิกะ |
|
dc.contributor.author |
อมรรัตน์ ชมรุ่ง |
|
dc.contributor.author |
แววตา ทองระอา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:14:48Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:14:48Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2380 |
|
dc.description.abstract |
แพลงก์ตอนพืชทะเลเป็นสาหร่ายเซลล์เดียวขนาดเล็กที่สังเคราะห์แสงได้ จัดเป็นผู้ผลิตเบื้องต้นของห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศน์แหล่งน้ำ หากมีการปนเปื้อนในแหล่งน้ำจากสารมลพิษจะทำให้ปริมาณแพงลก์ตอนพืชทะเลลดลง จึงมีการใช้แพลงก์ตอนพืชทะเลเป็นดัชนีบ่งชี้การปนเปื้อนของสารมลพิษในแหล่งน้ำ สำหรับการทดลองนี้ศึกษาพิษของปรอทและทองแดงที่มีต่อแพลงก์ตอนพืชทะเล 3 ชนิด คือ Dunaliella salina, Tetraselmis sp. และ Chaetoceros calcitrans ซึ่งมีความสำคัญในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยวิเคราะห์การเจริญเติบโต (ความหนาแน่นของเซลล์) และปริมาณคลอโรฟิลด์เอ ผลการทดลองพบว่าความไวในการตอบสนองต่อความเป็นพิษของปรอทและทองแดงต่อแพลงก์ตอนพืชทะเลเรียงจากสูงสุดไปต่ำสุดดังนี้ C.calcitrans, Tetraselmis sp. และ D. salina ปรอทมีพิษต่อแพงลก์ตอนพืชทั้ง 3 ชนิดสูงกว่าทองแดง คือมีค่าเฉลี่ย IC 50 ต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบในแพลงก์ตอนพืชทะเลแต่ละชนิด |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การเจริญเติบโต |
th_TH |
dc.subject |
คลอโรฟิลล์ เอ |
th_TH |
dc.subject |
ความหนาแน่นของเซลล์ |
th_TH |
dc.subject |
ความเป็นพิษ |
th_TH |
dc.subject |
ทองแดง |
th_TH |
dc.subject |
ปรอท |
th_TH |
dc.subject |
แพลงก์ตอนพืชทะเล |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
|
dc.title |
พิษของปรอทและทองแดงที่มีต่อแพลงก์ตอนพืชทะเล Dunaliella salina, Tetraselmis sp. และ Chaetoceros calcitrans |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
4 |
|
dc.volume |
27 |
|
dc.year |
2548 |
|
dc.journal |
วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
|
dc.page |
915-928. |
|