DSpace Repository

ยุทธศาสตร์การเผยแผ่ศาสนธรรมในยุคโลภาภิวัตน์ กรณี วัดพระธรรมกายและวัดหนองป่าพง

Show simple item record

dc.contributor.author ไพฑูรย์ โพธิสว่าง
dc.contributor.author พระมหาสนธยา พุทธวิริโย
dc.contributor.author บุญทัน ดอกไธสง
dc.contributor.author สะอาด บรรเจิดฤทธิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.available 2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2322
dc.description.abstract จุดประสงค์ในการทำวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษา ยุทธศาสตร์การเผยแผ่ศาสนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ กรณีวัดพระธรรมกาย และวัดหนองป่าพง จึงได้เสนอตัวแปรศึกษา ห้าตัวแปรดังต่อไปนี้ 1. หลักไตรสิกขา และหลักธรรมะที่นำไปเผยแผ่ 2. การบริหารจัดการวัด 3. ยุทธศาสตร์การประกาศธรรมะ 4. ยุทธศาสตร์ยุคใหม่ในการเผยแผ่ธรรมะ 5. ประสิทธิภาพการสอนและการปฎิบัติของพุทธบริษัท การสอบถามเชิงลึก ผู้สอบถามได้ถามบุคลากรที่ให้ข้อมูลหลัก 24 ท่าน และการวิจัยครั้งนี้เป็นเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การนำเสนอข้อมูล 1) ทั้งสองวัดนี้ ได้ใช้หลักการไตรสิกขาเช่นเดียวกัน ที่เป็นพื้นฐานหลักในการประกาศธรรมะและศีล 5 คือ พื้นฐานของมนุษย์ที่จะต้องนำไปสู่การปฏิบัติ ถึงอย่างไรก็ตามวัดพระธรรมกาย ได้ประกาศและมีจุดเน้นในฐานที่ 7 ของร่างกายนั้นคือ จุดเหนือสะดือ 2 นิ้ว ซึ้งผู้ปฏิบัติจะต้องหลับตาเบาๆ พอประมาณเพื่อทราบทุกการเคลื่อนไหวของลมหายใจเข้าขณะที่วัดหนอนป่าพง ได้ปรับนำการรับรู้ความคิดในแต่ละอิริยาบถของการเคลื่อนไหวที่เรียกว่า การทำจิตใจให้สงบโดยมีจิตมุ่งที่ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ภาวนาว่า พุท เข้า โธ ออก 2) เกี่ยวกับบริเวณวัด ซึ่งผู้วิจัยเรียกว่าแคมปัส (วัด) ทั้งสองวัดมีสิ่งแวดล้อมที่ดีมาก วัดพระธรรมกายมีบริเวณกว้างขวาง เป็นวัดในเมือง ส่วนวัดหนองป่าพง ถูกห้อมล้อมด้วยธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ มีบริเวณที่เป็นป่าสีเขียวร่มเย็น เมื่อเราเข้าไปเยี่ยมเยียน เป็นวัดในท้องถิ่นที่เต็มไปด้วยความหมายของความสงบทางใจ ทั้งสองวัดมีศูนย์กลางมากมายทั้งภายในและต่างประเทศ ผู้นำทั้งสองวัดนี้ บริหารโดยคณะสงค์และเจ้าอาวาสเป็นประธาน ได้รับการเคารพเป็นอย่างสูงจากหมู่ขณะ การปฏิบัติสมถะ และวิปัสสนานั้น ได้รับการฝึกอบรม เป็นกลุ่มส่วนบุคคลและการปฏิบัติด้วยตนเอง ผลของการวิจัย ตามตัวแปรตามในข้อที่ 5 ได้แสดงถึงแระสิทธิภาพของการประกาศการสอนธรรมะที่ได้บ่งบอกว่า ทั้งสองวัดนี้มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับอย่างสูงต่อสาธารณะและมีความเป็นจริงในการติดต่อสัมพันธ์กับสมาชิก ซึ่งได้รับความสำเร็จเป้นอย่างสูงทั่วโลก วัดทั้งสองได้เป็นตัวอย่างเกี่ยวกับการบริหารวัดเป็นศูนย์การสอนสมถะและวิปัสสนา เป็นศูนย์กลางทำบุญสุนทาน เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารวัดเป็นศูนย์การสอนสมถะและวิปัสสนา เป็นศูนย์กลางการทำบุญสุนทาน เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับชีวิตที่ยิ่งใหญ่ โดยการใช้สื่อเชิงพหุ เพื่อเชื่อมเครือข่ายกับสมาชิกทั่วโลกโดยผ่านดาวเทียม และที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือการใช้เทคนิคที่ก้าวหน้าในการสอนและการฝึกอบรมมุ่งมั่นเพื่อสร้างศักยภาพมนุษย์ความรักและความเมตตา เพื่อแบ่งปันคุณค่าในการสร้างสันติภาพภายในจิตใจมนุษย์ชาติ ดังนั้นวัดทั้งสองได้กลายเป็นวัดที่มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดในโลก th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การเผยแผ่พุทธศาสนา th_TH
dc.subject พุทธศาสนา th_TH
dc.title ยุทธศาสตร์การเผยแผ่ศาสนธรรมในยุคโลภาภิวัตน์ กรณี วัดพระธรรมกายและวัดหนองป่าพง th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 5
dc.year 2553
dc.journal วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ = VRU Research and Development Journal.
dc.page 96-110.


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account