DSpace Repository

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสนใจและการรับรู้การเลือกใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของครูและนักเรียนมัธยมศึกษาในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author ผจงสุข เนียมประดิษฐ์
dc.contributor.author มานพ แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2246
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสนใจและการับรู้ การเลือกใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนมัธยมศึกษาในเขต หนองแขม กรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสนใจและการรับรู้ การเลือกใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนมัธยมศึกษาในเขต หนองแขม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 240 คน โดยใช้สถิติถดถอยลอจิตและสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า 1. นักเรียนส่วนใหญ่มีระดับความสนใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในระดับปานกลาง 2. นักเรียนส่วนใหญ่มีระดับการเรียนรู้การเลือกใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในระดับต่ำ 3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสนใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ระดับการศึกษาสูงสุดของบิดามารดา อาชีพของบิดา จำนวนสมาชิกในครัวเรือนการได้รับผลกระทบจากปัญหาพลังงานและสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน การให้คุณค่าต่อพลังงานและสิ่งแวดล้อมการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมและการรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 4. สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ การเลือกใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ เกรดหรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายได้ของครัวเรือน จำนวนสมาชิกในครัวเรือน ระดับการศึกษาสูงสุดของบิดามารดา อาชีพของบิดา อาชีพของมารดา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมประสบการณ์การเข้าร่วมกิจกรรมทางพลังงานและสิ่งแวดล้อม การให้คุณค่าต่อพลังงานและสิ่งแวดล้อม th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การรับรู้ th_TH
dc.subject การอนุรักษ์ธรรมชาติ th_TH
dc.subject การอนุรักษ์พลังงาน th_TH
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา th_TH
dc.subject เศรษฐกิจพอเพียง th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสนใจและการรับรู้การเลือกใช้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของครูและนักเรียนมัธยมศึกษาในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร th_TH
dc.title.alternative Factors affectivng interest and perception of selection the sufficiency economy theory to conserve energy and environment of secondary school students in Hnongkhaem metropolis of Bangkok en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 2
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative This Study aimed to identify the following aspect: (1) the level of interest and perception of selection the Sufficiency Economy Theory to conserve energy and environment of secondary school students in Hnong Khaem Metropolis of Bangkok, (2) the affecting interest and perception of selection the Sufficiency Economy Theory to conserve energy and environment of students. The sample consisted of 240 secondary school students. The Multinomial Logit Regression and the Multiple Regression Analysis were employed to analyzed to analyze the data. The result from the students’ response found as follows: 1. Most of students had a moderate level of interest toward energy and environment conservation, 2. Most of students had low level of perception of selection of the theory to conserve energy and environment, 3. factors affecting interest of students with statistically significant difference at 0.05 were parents’ education levels, father’s occupation, family members, the impact on energy and environment of family, the value on energy and environment, teaching and learning about the Sufficiency Economy Theory as well as receiving information about energy and environment conservation, 4. Factors affecting perception of students with statistically significant difference at 0.05 consisted of sex, grade point average, family incomes, family members parents’ education levels, father’s occupation, mother’s occupation, receiving information about energy and environment conservation, experience of participating in energy and environment activities as well as the value on energy and environment. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page 69-81.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account