DSpace Repository

การถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สุนิสสา อุบลวรรณ
dc.contributor.author สมหมาย แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2238
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการถ่ายทอดความรู้และปัญหาในการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสุขประจำสถานีอนามัย ในจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขประจำสถานีอนามัย จำนวน 221 คน จาก 5 อำเภอ ได้มาโดนวิธีการสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือเก็บข้อมูลเป็น มาตรา ประมาณค่า 5 ระดับซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนชนิดทางเดียงและเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. วิธีการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดชลบุรี ใช้วิธีการถ่ายทอดความรู้ที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง คือ การให้คำปรึกษาและปฏิบัติเป็นส่วนน้อยหรือนาน ๆ ครั้ง คือ การโต้วาที ส่วนวิธีการถ่ายทอดแบบอื่นๆ โยรวมแล้วมีการปฏิบัติเป็นครั้งคราว 2. ปัญหาในการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ แก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง พบว่า ด้านผู้รับความรู้ ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และสภาพแวดล้อมมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านผู้ถ่ายทอดความรู้มีปัญหาอยู่ในระดับน้อย 3. เปรียบเทียบวิธีการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดชลบุรี ที่มีประสบการณ์ ทำงานต่างกัน มีวิธีการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพอนามัย โดยวิธีการอภิปราย การสาธิต การฝึกอบรมสัมมนา การแสดงบทบาทสมมุติ กรณีศึกษา การเล่นเกม การทัศนศึกษา การโต้วาที การให้ชมภาพยนตร์ โทรทัศน์และวีดิทัศน์ การทำโครงการสุขภาพ และการใช้คำถาม มีความแต่งต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เปรียบเทียบปัญหาในการถ่ายทอดความรู้ ด้านสุขภาพแก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประจำสถานีอนามัยในจังหวัดชลบุรีที่มีประสบการณ์ การทำงานต่างกัน มีปัญหาในด้านผู้ถ่ายทอดความรู้ ด้านผู้รับความรู้ ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และด้านสภาพแวดล้อมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การสื่อสารสาธารณสุข - - ไทย - - ชลบุรี th_TH
dc.subject เจ้าหน้าที่สาธารณสุข th_TH
dc.subject สาธารณสุข th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Provision of health deucation to the public by public health officers in Chonburi province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 117-128.
dc.volume 1
dc.year 2548
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study how the health officers at Chonburi Public Health Center educate the public health care. The sample consisted of 221 health officials at Chonburi Public Health Center from 5 Districts by crusting sampling. The instrument was a five-levels rating scale questionnaire developed by researcher. The data were analyzed by mean, standard deviation, one-way analysis of variance and the Scheffe method. The results of this study were: 1. The methods used in educating health care were moderate level. The method of individual consulting was a high level and the debate method was in low level. 2. The problems in educating health care of the health officers were rated moderate level. The problems in the aspects of learners, materials and environment were moderate level but the health officers themselves was low level. 3. There were significant differences at .05 between job experiences of the health officers in health care educate methods as followed: discussion, demonstration, seminars, role-playing, games, study-visit, debate, watching television and VDO, health project and asking the questions. 4. Three was nonsignificant difference between job experiences of the aspects of health officers, learners, materials and environment. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page 1


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account