DSpace Repository

วิจัยและส่งเสริมวัดเพื่อพัฒนาการศึกษาและเผยแพร่ศาสนธรรม กรณีศึกษา วัดเขาพุทธโคดม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สมหมาย แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.author พีระพงษ์ สุดประเสริฐ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:48Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:48Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2231
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่อง วิจัยและส่งเสริมวัดเพื่อพัฒนาการศึกษาและเผยแผ่ศาสนธรรม: กรณีศึกษาวัดเข้าพุทธโคดม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ พระพุทธศาสนาที่เหมาะสมกับประชาชน 2. เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและวิธีปฏิบัติตนตามหลักพุทธศาสนาแก่คนทั่วไป 3. เพื่อสร้างเครือข่ายเผยแผ่ศาสนาแก่คนทั่วไป 3. เพื่อสร้างเครือข่ายเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดเขาพุทธโคดม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในพื้นที่กรณีศึกษา คือวัดเขาพุทธโคดม ซึ่งเป็นสถานที่ที่ได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานสภาศึกษาแห่งชาติ โดยมีวิธีการวิจัย ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้ 1. ศึกษาความต้องการ ด้านศาสนธรรมของประชาชนด้วยการประชุมเสวนา สังเกต และสรุปผลความต้องการของคณะผู้วิจัย กับประชาชน พระภิกษุที่เป็นผู้สอนศาสนธรรมแผนกต่างๆ และผู้บริหารวัด 2. การพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้พุทธศาสนาที่เหมาะกับประชาชน 3.การนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้โดยการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ 4. การสรุปและปรับปรุงหลักสูตรและสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ โดยใช้หลักสูตรที่สร้างขึ้น สำหรับวัดเขาพุทธโคดม สรุปผลการดำเนินงานวิจัยครั้งนี้ 1. กระบวนการเรียนรู้พุทธศาสนา ที่เหมาะสมกับประชาชนมีสาระสำคัญ 3 ประการดังนี้ 1.1 การพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ที่มีกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะกับยุคสมัย 1.2 การนำหลักสูตรมาใช้กับประชาชน วัยเรียน และวัยทำงานซึ่งเป็นผู้ใหญ่ตอนต้น 1.3 การสรุปผลการเรียนรู้ และพิจารณากระบวนการเรียนรู้ และหลักสูตรเพื่อใช้กับกลุ่มผู้เรียนต่อ ๆ ไป และพิจารณาเครือข่ายเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดเขาพุทธโคดม 2. ได้หลักสูตรสัมมนาเชิงปฏิบัติการพุทธวิธีสำหรับคนรุ่นใหม่” เป็นหลักสูตรเฉพาะของเขาพุทธโคดม เพื่อเผยแผ่ศาสนธรรมสำหรับประชาชน มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เข้าร่วมสัมมนามีความพึงพอใจในการนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน 3. แนวทางการสร้างเครือข่ายเผยแผ่ศาสนธรรม โดยการจัดตั้งองค์กร เครือข่ายพุทธมามกะวัดเขาเขาพุทธโคดมขึ้น มีการใช้หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject พุทธศาสนา - - การศึกษาและการสอน th_TH
dc.subject พุทธศาสนากับการศึกษา - - ชลบุรี th_TH
dc.subject วัด - - ชลบุรี th_TH
dc.subject วัดกับการศึกษา - - ชลบุรี th_TH
dc.subject วัดกับชุมชน - - ชลบุรี th_TH
dc.subject วัดเขาพุทธโคดม (ชลบุรี) th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title วิจัยและส่งเสริมวัดเพื่อพัฒนาการศึกษาและเผยแพร่ศาสนธรรม กรณีศึกษา วัดเขาพุทธโคดม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Research and publicize the work of a temple whose objetives were to improve educational standard and to dissimilate the Dhamma case study: Khao Budha Khodom Temple, Sri Racha district, Chonburi province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 1
dc.year 2548
dc.description.abstractalternative A research on a study in order to publicize the work of a temple whose objectives were to improve educational standard and to disseminate the Dhamma Case study: Khao Buddha Khodom Temple, Sri Racha District, Chonburi Province. Objectives 1. To revise the curriculum and Dhamma learning management process so as to marh it appropriate to layman. 2. To present the Buddhist way of practice to people in general. 3. To establish the Khao Buddha Khodom Temple network of Dhamma dissimination. This research was a workshop at the temple being studied which had been chosen by the National Education Commission. The research process included : 1. Study the perple’s Dhamma need by means of holding a meeting, associating, observing and summarizing the need to the monks who were to teach Dhamma and the management. 2. Revise the curricululum of Buddhist learning to suit the people’s need. 3. Hold a workshop to make the curriculum applicable to Dhamma learning. 4. Summarize and improve the curriculum as well as establish aleraning network from the curriculum made for Khao Buddha Khodom Temple. The Outcomes are as the follow: 1. The workshop curriculum, “Buddhist for the New Generation”, was designed for the Khao Buddha Khodom Temple, to be used for the Dhamma dissemination for early adlts. 2. It was found that the common Buddhist practice in daily life for the new generation: “The Buddha Khodom Way” was composed of three categories: 2.1 Stick to the Lord Buddha, the Dhamma, the monks; practice meditation and be kind 2.2 Participate in religious holiday activities, be restrained from alcoholic drink. 2.3 Be restrained from defilement by being generous whenever possible. 3. There was a means to establish Buddhist dissemination network which was to be done by establishing the Khao Buddha Khodom Temple organization of Buddhist network underlying by the curriculum prepared. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page 47-60.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account