dc.contributor.author | ปกรณ์ มณีปกรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:46Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:46Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2200 | |
dc.description.abstract | ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวได้รับการยอมรับว่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นได้ในทุกสังคมและวัฒนธรรม ทั้งยังเป็นรูปแบบหนึ่งของการละเมิดสิทธิมนุษยชน สำหรับสังคมไทย ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวนับวันจะยิ่งมากขึ้น เหยื่อของความรุนรงส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงและเด็กซึ่งไม่สามารถหาทางออกหรือจัดการได้เองเพียงลำพังในครอบครัว มีความจำเป็นต้องขอรับความช่วยเหลือจากภายนอก ซึ่งสังคมต้องให้ความสำคัญในการแก้ปัญหา เนื่องจากเป็นปัญหาที่ไม่เพียงส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้ถูกกระทำเท่านั้น ยังส่งผลกระทบต่อครอบครัวและสังคมโดยรวม อาจทำให้ครอบครัวแตกแยกและเกิดปัญหาทางสังคมอื่น ๆ ตามมา และผู้ที่เติบโตมาท่ามกลางความรุนแรงในครอบครัวจะไปสร้างวงจรความรุนแรงในครอบครัวของตนเองต่อไปหากไม่ได้รับความช่วยเหลือแก้ไขอย่างเหมาะสม มาตรการในการป้องกันและคุ้มครองแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นเรื่องที่มีความระเอียดอ่อนและยุ่งยาก เนื่องจากมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัวเป็นจำนวนมาก การศึกษาหาสาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัวจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็น เพื่อสามารถนำไปวิเคราะห์หาแนวทางในการกำหนดมาตรการป้องกันแก้ไขได้สอดคล้องกับสภาพปัญหาต่อไป | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ครอบครัว | th_TH |
dc.subject | ความรุนแรงในครอบครัว | th_TH |
dc.subject | จิตวิทยาสังคม | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | |
dc.title | ความรุนแรงในครอบครัว: มาตรการป้องกันและคุ้มครองแก้ไขด้านสังคมจิตวิทยา. | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 23-24 | |
dc.volume | 15 | |
dc.year | 2550 | |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 209-221. |