dc.contributor.author |
สุพจน์ บุญวิเศษ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
en |
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:42Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:42Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2155 |
|
dc.description.abstract |
บทความฉบับนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยมุ่งเน้นถึงขั้นตอนและวิธีการที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการกำหนดเป้าหมายปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factor : CSF) และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Index : KPI) ความแตกต่างของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการประเมินประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่อยงานภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์กับการบริหารงานบุคคลซึ่งจาการศึกษาพบว่า การประยุกต์ใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ในหน่วยงานภาครัฐยังมีข้อจำกัด โดยเฉพาะในตัวของระบบเอง เมื่อเปรียบเทียบกับภาคเอกชนดังนั้นภาครัฐจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานบุคคลให้มีความถูกต้องเหมาะสมและสอดรับกับหลักการบริหารดังกล่าว โดยการกระจายอาจการบริหาร การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร ขั้นตอนวิธีปฏิบัติ การสรรหาบรรจุ แต่งตั้งโยกย้ายบุคลากร การกำหนดค่าตอบแทนและเงินรางวัลการต่อสัญญาหรือยุติสัญญาจ้าง เป็นต้น |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การบริหารงานบุคคล |
th_TH |
dc.subject |
การประเมินผลงาน |
th_TH |
dc.subject |
การวัดผลงาน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเศรษฐศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management) กับการประเมินผลการปฏิบัติงานในระบบราชการและเอกชน |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
21 |
|
dc.volume |
14 |
|
dc.year |
2549 |
|
dc.description.abstractalternative |
This article concerns the study of result based management by focusing on processes and methodologies for applying in organization management, particularly how to create Critical Success Factor : CSF and Key Performance Index : KPI. It also studies the difference of result based management between public sector and private sector including the relation between result based management and personal administration. The study found that the result based management between public sector still had a limitation of performance, especially in system themselves comparing with private sector. Therefore the public sector needs to improve the system of personal administration by decentra lization and reengineering particular in organization structure, processes of implementation, selection, rotation, and contract management etc. |
en |
dc.journal |
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.page |
1-18. |
|