DSpace Repository

การตลาดสัมพันธภาพกับผลประกอบการระยะยาวของธุรกิจร้านค้าปลีกประเภทของชำขนาดเล็กในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ ธำรงสินถาวร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:41Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:41Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2134
dc.description.abstract บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอการประยุกต์ใช้ของแนวความคิดการตลาดสัมพันธภาพเพื่อใช้เป็นแนวทางหนึ่งในการลดความรุนแรงของปัญหาที่ร้านค้าปลีกประเภทของชำขนาดเล็กในประเทศไทยประสบปัญญาเรื่องยอดขายและกำไรที่ลดลงเนอย่างมากในปัจจุบันจนทำให้ร้านค้าปลีกประเภทของชำขนาดเล็กจำเป็นต้องปิดตัวลงเป็นจำนวนมาก ด้วยการพิจารณาแนวโน้มของพฤติกรรมผู้บริโภคที่ต้องการสินค้าและบริการตามที่ตนเองชอบ (Customization) และต้องการข่าวสารทางการตลาดที่เป็นเฉพาะส่วนตัว (Personalization) มากขึ้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ถูกพิจารณาว่า เป็นโอกาสอันหนึ่งที่จะทำให้ร้านค้าปลีกประเภทของชำขนาดเล็กอยู่รอดในธุรกิจค้าปลีกที่มีการแข่งขันสูงในปัจจุบัน ดังนั้น ผู้เขียนจึงนำเสนอการประยุกต์ใช้แนวคิดการตลาดสัมพันธภาพโดยใช้ทฤษฎีพันธสัญญา-ความไว้วางใจ (Morgan & Hunt, 1994) กับแนวโน้มของพฤติกรรมผู้บริโภคดังกล่าวนี้ เป็นตัวแบบที่ใช้ในการลดระดับความรุนแรงของปัญหาดังกล่าว และยังจะสร้างผลประกอบการระยะยาวที่สูงขึ้นแก่ร้านค้าปลีกประเภทของชำขนาดเล็ก th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การตลาด th_TH
dc.subject การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า th_TH
dc.subject ร้านค้าปลีก - - ไทย th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title การตลาดสัมพันธภาพกับผลประกอบการระยะยาวของธุรกิจร้านค้าปลีกประเภทของชำขนาดเล็กในประเทศไทย th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 33
dc.volume 20
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative This article is proposing the applying the concept of relationship marketing as a method for relieving the level of problems of small grocery stores in Thailand. The small grocery store’s problem is the declining of sales volumes and profits highly. The decline of sales volume and profits is also inducing that a lot of small grocery stores are closed. With considering of consumer behavior analysis, that consumers want to get the more customized products as well as services and the more personalized as an opportunity for the small grocery store doing the business among high current competition. Thus basing on these consumer behaviors, this paper proposes the commitment-trust theory by Morgan and Hunt (1994) as a concept of relationship marketing for relieving the mentioned problems and improving the long-term performance for the small grocery stores. en
dc.journal วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 39-56.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account