dc.contributor.author | วงเดือน เจริญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2122 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจและความคาดหวังของผู้ใช้บริการที่มีต่อบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา พร้อมทั้งเปรียบเทียบความพึงพอใจและความคาดหวังของผู้ใช้บริการที่มีต่อบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งได้ศึกษาบริการด้านต่าง ๆ 8 ด้าน ได้แก่ บริการยืม-คืน บริการหนังสือจอง บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการแนะนำการใช้ห้องสมุด บริการวิทยานิพนธ์ บริการหนังสืออ้างอิง บริการรับฝากของ และการจัดที่นั่งอ่านหนังสือ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ อาจารย์ จำนวน 274 คน และนิสิตจำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน และทดสอบสมมุติฐานการจิจัยโดยใช้ t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างจะใช้การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ความพึงพอใจและความคาดหวังของผู้ใช้บริการต่อบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา โดยรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนรายด้าน ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจบริการยืม-คืน บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าและบริการหนังสืออ้างอิง ส่วนความคาดหวังของผู้ใช้บริการโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนรายด้านผู้ใช้บริการมีความคาดหวังมากที่สุดต่อการจัดบริการที่นั่งอ่าน รองลงมาคือบริการหนังสือจองและบริการยืม-คืน 2. เปรียบเทียบความพึงพอใจและเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ใช้บริการต่อบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา จำแนกตามสถานภาพ พบว่า อาจารย์และนิสิตมีความพึงพอใจในการใช้บริการแตกต่างกัน 7 ด้าน ยกเว้น บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าที่ไม่แตกต่างกัน และมีความคาดหวังบริการทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. เปรียบเทียบความพึงพอใจและเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ใช้บริการต่อบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่าผู้ใช้บริการ มีความพึงพอใจบริการแตกต่างกัน 5 ด้าน ยกเว้น บริการหนังสือจอง บริการหนังสืออ้างอิงและบริการรับฝากของ ไม่แตกต่างกัน และมีความคาดหวังบริการทุกด้านไม่แตกต่างกัน 4. เปรียบเทียบความพึงพอใจและเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ใช้บริการต่อบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา พบว่า อาจารย์มีความพึงพอใจบริการทุกด้านในภาพรวมแตกต่างกัน ส่วนความคาดหวังทุกด้านไม่แตกต่างกัน และนิสิตมีความพึงพอใจและความคาดหวังทุกด้านไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การยืมระหว่างห้องสมุด | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา - - การยืมระหว่างห้องสมุด.. ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด | th_TH |
dc.title | การบริการยืมระหว่างห้องสมุดของผู้ใช้บริการสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 14 | |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the research were to study the users' satisfaction and expectation to information services of Burapha University Library and to compared the users' satisfaction and expectation in using the eight library services which were circulation service, reserved book service, reference service, library use advising service, theses service, reference book service, deposit service and reading room service. The samole were 274 professors and 377 students from every department of the university. The study was carried by questionnaire. The data were analyred by frequency, percentage, mean, and standard deviation. The comparison of users' satisfaction and expactation was done by one-way ANOVA and scheffe's test The result of the study were: 1.The level of users' saticfaction and expactation to information service of Burapha University Library in all service categories is the middle level. When considering each subscale of the satisfaction, circulation service is at the first the second is refernce service and refernce book service, whereasthe expectation in all service categories are in a high level. When considering each subscale of the expectation reading rooms service is at the first the second is reserved book service and circulation service. 2. In comparision of users' satisfaction and expectation classified by status their satisfaction in 7 aspects were significantly different except reference services was not significantly different and expectation in all services were not significantly different 3. In comparision of users' satisfaction and expectation classified by educational level, their satisfaction in 5 aspects were significantly different except reserved book service, reference book service, reading room service was not significantly different and expectation in all services were not significantly different 4.In comparision of users' satisfaction and expectation classified by programs, their satisfaction in all services significantly different and expectation in all services were not significantly different | en |
dc.journal | อินฟอร์เมชั่น = Information | |
dc.page | 48-59. |
Files | Size | Format | View |
---|---|---|---|
There are no files associated with this item. |