DSpace Repository

ปัญหาและทางออกในการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนระดับตำบลในเขตภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author ธีระพงษ์ ภูริปาณิก
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:37Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:37Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2081
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและทางออกในการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนระดับตำบลในเขตภาคตะวันออก การวิจัยดังกล่าวใช้วิธีการศึกษาระหว่างเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ ข้อค้นพบจากการศึกษาพบว่าปัญหาในการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางซึ่งสามารถจัดเรียงลำดับจากด้านที่มีปัญหามากไปหาน้อย ดังนี้ การจัดการจัดตั้งสภาองค์กรค์กรชุมชน ด้านการจัดทำแผน ด้านการประชุม และด้านการบริหารงาน ตามลำดับ ส่วนข้อเสนอแนะทางออกในการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชน พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับไม่แน่ใจ โดยประเด็นที่มีข้อเสนอแนะทางออกในการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนที่อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) สถาบันพัฒนาองค์กรจำเป็นต้องทำการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ในวงกว้างให้ประชาชนรู้จักสภาองค์กรชุมชนมากขึ้น (2) สภาองค์กรชุมชนควรมีการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ทุนทางสังคมและภูมิปัญญาในชุมชนมาใช้ในการขับเคลื่อนเป็นหลัก (3) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนควรประสานงานให้เกิดเอกภาพภายในองค์กรเครือข่ายก่อนการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนระดับจังหวัด เช่น ขบวนการจังหวัด (4) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนควรยกระดับงานสภาองค์กรชุมชนเป็นยุทธศาสตร์หลักของหน่วยงาน และ (5) ก่อนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนจำเป็นต้องมีการตกลงกับผู้นำท้องที่และท้องถิ่นให้ลงตัวเสียก่อน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject สภาองค์กรชุมชน - - ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH
dc.subject สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ th_TH
dc.subject องค์กรชุมชน th_TH
dc.title ปัญหาและทางออกในการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนระดับตำบลในเขตภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative Problems and recommendations for movements of subdistrict - level community organizations councils in Eastern Region en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 3
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative This research has the objective to study on problem and solutions on movements of Subdistrict in the level of community organizations councils in the Eastern region. Such research has used both the quantitative and qualitative methodology. From this research, it has discovered that the problems on movements of subdistrict - in the level of community organizations councils is generally in the medium level ranging from the highest to the lowest level as the following; the establishment of the subdistrict - level community organizations councils, the Planning Management, the organizational meeting and management respectively. For solutions in the mobilization of the subdistrict - level community organizations councils, it has found that it is generally uncertain. The first five suggesting issues to the mobilization of the subdistrict - level community organizations councils are: (1) The needs of widespread promotion of subdistrict - level community organizations councils to the public; (2) The analysis and adjust of social capital and intellectual community as key mobilizing; (3) The cooperation between the subdistrict - level community organizations councils and Community to be an internal unity organization up to the provincial level; such as,provincial procession; (4) The subdistrict - level community organizations councils should improve the work of community as the main strategy of organization; and (5) Before setting up the Community Organizations, it is necessary to make some agreements with local administrative leaders. en
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย
dc.page 183-209.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account