dc.contributor.author |
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
วิเชียร ตันศิริมงคล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:37Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:37Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2080 |
|
dc.description.abstract |
นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 เป็นต้นมา รัฐบาลจีนได้ปฏิรูปการอุดมศึกษาอย่าแท้จริง รัฐบาลและพรรคคอมมิวนิสจีนเชื่อว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมีพื้นฐานสำคัญมาจากการศึกษา ตลอดระยะเวลา 40ปี นโยบายพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษาได้รับการสนับสนุนให้ขยายตัวพร้อมกับการพัฒนาคุณภาพเพื่อให้ก้าวสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ ส่งผลให้การอุดมศึกษาของจีนขยายอย่างรวดเร็ว จำนวนมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศจีนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นผลิตบัณฑิตจำนวนมาก สถานบันอุดมศึกษามีความหลากหลายประเภท เกิดความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ มาตรฐานการศึกษาาของจีนได้รับการยอมรับในแวดววงการศึกษา มหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐจำนวนมากได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำลำดับต้นของโลก งานวิจัยของนักวิจัยจีนจำนวนมากเป็นอันดับสองของโลก อย่างไรก็ตามมีการตั้งข้อสงสัยในแวดวงวิชาการในระดับนานาชาติว่าความสำเร็จของอุดมศึกษาจีนอย่างรวดเร็วนั้นเกิดจากการประเมินผลในเชิงปริมาณ โดยที่ขาดการตรวจสอบด้านคุณภาพของงานด้านอุดมศึกษาและงานวิจัย การพัฒนาคุณภาพในด้านการจัดการเรียนการสอน การสร้างคุณธรรม ความซื่อสัตย์ของนักวิจัย รวมถึงการสร้างธรรมาภิบาล และการให้ความเป็นอิสระในการบริหารงานกับมหาวิทยาลัยให้หลุดพ้นจากการบริหารแบบระบบราชการที่รวมศูนย์ มีการควบคุมสั่งการจากส่วนกลาง ยังคงเป็นปัญหาที่รัฐบาลจีนต้องหันมาให้ความสำคัญมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะสร้างความน่าเชื่อถือในทางวิชาการต่อประชาคมวิชาการในระดับนานนาชาติในอนาคต |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การปฏิรูปการศึกษา - - จีน |
th_TH |
dc.subject |
การศึกษา - - จีน |
th_TH |
dc.subject |
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา - - จีน |
th_TH |
dc.subject |
นโยบายการศึกษา - - จีน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
นโยบายการปฏิรูปอุดมศึกษาจีน: วิกฤตหรือโอกาสทางการศึกษา |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
2 |
|
dc.volume |
3 |
|
dc.year |
2554 |
|
dc.description.abstractalternative |
The Government of People's of Chinese and Chinese Communist Party have deliberately improved the higher education system in PRC since 1978. With the strong belief that the solidly economic advance comes along with the advance in higher education so the Chinese government have supported the revolutionary in higher education, pouring massive budget to public universities located in major cities and in the regional, and relaxing their administrative regulation. Within four decades Chinese higher education has acclaimed its world-class universities, and thousands of academic research papers done by Chinese researchers have been published in many leading academic journals. However there are bundles of skeptics from both Chinese and western academics about that success; the quality nit the quantity of the learning process in Chinese that considered by international academic circle as the serious crime it still widely violates in PRC, and the lack of academic freedom in most universities, and lastly the centralization from Beijing that closely regulated, directly and indirectly, most public university through setting the admission system and controlling the budget process. If Chinese government hopes the international academics to honor and accredit the Chinese higher education, all these setbacks must be urgently solved. |
en |
dc.journal |
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย |
|
dc.page |
97-127. |
|