dc.contributor.author |
เวธกา กลิ่นวิชิต |
th |
dc.contributor.author |
พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ |
th |
dc.contributor.author |
สรร กลิ่นวิชิต |
th |
dc.contributor.author |
พวงทอง อินใจ |
th |
dc.contributor.author |
คนึงนิจ อุสิมาศ |
th |
dc.contributor.author |
พลอยพันธุ์ กลิ่นวิชิต |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:10:04Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:10:04Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2008 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อจัดการความรู้และศึกษาศักยภาพในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุของ แกนนําครอบครัวและชุมชนหลังได้รับการพัฒนาตามรูปแบบเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุคคล ในครอบครัวหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุของครัวเรือนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองแสนสุข อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี สุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้จํานวน 377 คน ศึกษาศักยภาพด้านการรับรู้ภาวะสุขภาพและปัญหาด้าน สุขภาพของผู้สูงอายุ และด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า
1. การรับรู้ภาวะสุขภาพและปัญหาด้านสุขภาพผู้สูงอายุของแกนนําสุขภาพครอบครัวและชุมชน ก่อนได้รับการพัฒนามีการรับรู้ อยู่ในระดับ ปานกลาง ( X =3.16,SD = 0.68) และหลังได้รับการพัฒนา มี การรับรู้ อยู่ในระดับมาก ( X =3.55, SD = 0.89) การรับรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุของ แกนนําสุขภาพครอบครัวและชุมชน ก่อนได้รับการพัฒนามีการรับรู้ความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุ อยู่ใน ระดับ ปานกลาง ( X =5.09) และหลังได้รับการพัฒนา อยู่ในระดับค่อนข้างทําได้แน่นอน ( X =8.35)
2. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของการรับรู้ภาวะสุขภาพและปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุของแกนนํา ในภาพรวม ก่อนและหลังได้รับการพัฒนา พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (t = -3.872, p <.001) และเมื่อเปรียบเทียบเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ ได้แก่ ด้านการรับรู้ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในปัจจุบัน (t = -3.487, p <.001) ด้านการรับรู้ภาวะสุขภาพ ในอดีต (t = -4.640, p <.001) ด้านความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ (t = 4.787, p <.001) ด้านการ รับรู้ความต้านทานหรือความอ่อนแอของผู้สูงอายุ (t = -2.969, p <.01) ด้านการรับรู้แนวโน้มสุขภาพของ ผู้สูงอายุ (t = -2.178, p <.05) ด้านการยอมรับความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ (t = -2.143, p <.05) และด้าน ทัศนคติบวกต่อการไปรับการรักษาจากแพทย์ (t = -2.207, p <.05) โดยมีด้านการปฏิเสธความเจ็บป่วยของ ผู้สูงอายุ ที่ไม่มีความแตกต่างกัน (t = 0.109, p = 0.46)
3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของการรับรู้ความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุของแกนนํา ก่อนและหลังได้รับการพัฒนาตามรูปแบบเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ในภาพรวม พบว่ามีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (t = -9.565, p <.001) โดยพบว่า ทุกด้านมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญที่ระดับ .001 ได้แก่ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองในการผ่อนปรน (t = -3.707, p <.001) ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้สูงอายุ (t = -7.735, p <.001) และด้านความสามารถในการควบคุมความคิดที่ไม่พอใจในการเป็นผู้ดูแล (t= -9.618, p <.001)
สรุป การพัฒนาแกนนําสุขภาพครอบครัวและชุมชนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้รูปแบบการพัฒนา ศักยภาพเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ มีความสําคัญและช่วยให้แกนนํามีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุได้ดีขึ้น |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ผู้สูงอายุ - - การดูแล |
th_TH |
dc.subject |
แกนนำสุขภาพ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาแกนนําสุขภาพครอบครัวและชุมชนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี (ปีที่ 3): การจัดการความรู้และศึกษาศักยภาพในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุของแกนนํา ครอบครัวและชุมชนหลังได้รับการพัฒนาตามรูปแบบเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development Family and Community Health Leader for Elderly in Community; Saensuk Happiness Family Health Leader Model (Phase II) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2560 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research were to knowledge management and evaluate potential of family and community health leaders after learning followed by the guideline of Saensuk Happiness Family Health Leader Model. 377 Samples were selected from family members and health care leaders in Saensuk municipality, Muang Chonburi with purposive sampling,. Variables of this study were well-being and health problem perception and perception of elderly health care’s ability of family and community health leaders. Tools of this study was questionnaire with 0.87 cronbach’s reliability. Statistics were frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test.
It was found that after receiving the knowledge and activities from the guideline of Saensuk Happiness Family Health Leader Model the samples;
1. Increased the perception of well-being and health problems of the elderly in the high level ( X =3.55, SD = 0.89) from the medium level ( X = 3 . 1 6 ,SD = 0 . 6 8 ) before receiving the knowledge and activities, and increased the perception of their ability in elderly health care in the quite certainly do level ( X = 8.35) from the medium level ( X =5.09) before receiving the knowledge and activities.
2. Comparison of elderly care potential in family and community health leaders perceive between before and after learning by this model were found that the overall mean score of their health perception and health problem of the elderly after learning were statistically significant at .001 level. There were statistically significant at .001 level in 3 aspects namely; Perceived health status of the elderly (t = -3.487, p <.001) Perceived health status in the past (t = -4.640, p <.001) and Concerns about elderly health (t = 4.787, p <.001). There was statistically significant at .01 level in 1 aspect; Perceived resistance or susceptibility of the elderly (t = -2.969, p <.01) and statistically significant at .05 level in 3 aspect; Perceived health trend of the elderly (t = -2.178, p <.05), Acceptance of illness of the elderly (t = -2.143, p <.05) and Positive attitude towards treatment received from physicians (t = -2.207, p <.05). There was only one aspect of Rejection of illness of the elderly that was not statistically significant (t = 0.109, p = 0.46).
3. Comparison of the perception of their ability in elderly health care between before and after learning by this model were found that the overall mean score were statistically significant at .001 level. There were statistically significant at .001 level in all aspects such as Self-efficacy in relieving (t = -3.707, p <.001), Self-efficacy in responding to inappropriate behaviors of the elderly (t = -7.735, p <.001), and their ability to control thought dissatisfied with caregiving (t = -9.618, p <.001).
n conclusion, the development of health, family and community leaders for elderly care by using the potential development model to care for the elderly is important to help them to improve their ability to care for the elderly. |
en |