dc.contributor.author |
ศิริวรรณ ชูศรี |
th |
dc.contributor.author |
วิไลวรรณ พวงสันเทียะ |
th |
dc.contributor.author |
เสาวภา สวัสดิ์พีระ |
th |
dc.contributor.author |
ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน |
th |
dc.contributor.author |
ศิรประภา ฟ้ากระจ่าง |
th |
dc.contributor.author |
วรกานต์ เสถียรวงศ์นุษา |
th |
dc.contributor.other |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:09:59Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:09:59Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1952 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของการอนุบาลลูกปลาแมนดารินด้วยโรติเฟอร์และอาร์ทีเมียที่ เสริมด้วยกรดไขมันและวิตามินซีที่ระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน
ที่มีผลต่ออัตรารอด อัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการพัฒนาการของลูกปลาแมนดารินตั้งแต่แรกฟักจนถึงระยะที่มีการเปลี่ยนรูปร่าง (metamorphosis) โดยใช้ความหนาแน่นของลูกปลา 20 ตัวต่อลิตร ปริมาตรน้ำที่ใช้ จํานวน 5 ลิตร ความเค็มน้ำทะเลอยู่ที่ 31-33 ppt แต่ละชุดการทดลองทํา 3 ซ้ำ เมื่อลูกปลาอายุ 1- 20 วัน ให้โรติเฟอร์ที่ความหนาแน่น 20 ตัวต่อมิลลิลิตร และเมื่อลูกปลาอายุ 21 – 45 วัน เปลี่ยนจาก โรติเฟอร์เป็นอาร์ทีเมียที่ความหนาแน่น 3 ตัวต่อมิลลิลิตร ในการทดลองที่ 1 เป็นการศึกษาผลของ การเสริมกรดไขมันสําเร็จรูปให้กับโรติเฟอร์และอาร์ทีเมียที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกันคือ 0, 200, 400, 600 และ 800 มิลลิกรัมต่อลิตร (มก./ล.) ผลการวิจัยพบว่าระดับความเข้มข้นของกรดไขมัน สําเร็จรูปไม่มีผลต่ออัตราการรอดตาย อัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการพัฒนาการของลูกปลา (p>0.05) อัตรารอดที่ดีที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 600 มก./ล. (7.00±5.57%) รองลงมาคือ 400 มก./ล. (6.33±3.51%), 800 มก./ล. (4.33±2.52%), 0 มก./ล. (3.33±2.08%) และ 200 มก./ ล. (2.00±1.00%) ตามลําดับ การเจริญเติบโตด้านความยาวมาตรฐานและความยาวทั้งหมดดีที่สุดอยู่ ที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. (0.84±0.58, 1.09±0.75 ซม.) รองลงมาคือ 0 มก./ล. (0.76±1.39, 0.93±1.73 ซม.), 400 มก./ล. (0.66±1.24, 0.85±2.05 ซม.), 600 มก./ล. (0.63±0.89, 0.81±0.19 ซม.) และ 800 มก./ล. (0.58±0.24, 0.73±0.47 ซม.) ตามลําดับ น้ำหนักดีที่สุดอยู่ที่ความเข้มข้น 200 มก./ล. (0.11±0.15 กรัม) ลูกปลาลงพื้นครบทุกตัวทุกชุดการทดลองที่อายุ 26 วัน และลูกปลา แมนดารินเริ่มมีการลงพื้นเร็วที่สุดที่อายุ 11 วัน ในการทดลองที่ 2 เป็นการศึกษาผลของการเสริมกรด ไขมันเตรียมเองให้กับโรติเฟอร์และอาร์ทีเมียที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกันคือ 0, 200, 400, 600 และ 800 มก./ล. ผลการวิจัยพบว่าระดับความเข้มข้นของกรดไขมันเตรียมเองไม่มีผลต่ออัตราการ รอดตาย อัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการพัฒนาการของลูกปลา (p>0.05) อัตรารอดที่ดี ที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 800 มก./ล. (4.33±2.33%) รองลงมาคือ 600 มก./ล. (1.67±0.33%), 400 มก./ล. (1.67±0.33%), 200 มก./ล. (1.67±0.67%) และ 0 มก./ล. (1.00±0.00%) ตามลําดับ การเจริญเติบโตด้านความยาวมาตรฐานและความยาวทั้งหมดดีที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 400 มก./ล. (0.67±0.51, 0.83±0.50 ซม.) รองลงมาคือ 0 มก./ล. (0.67±0.79, 0.78±0.81 ซม.), 600 มก./ล. (0.59±0.32, 0.74±0.43 ซม.), 800 มก./ล. (0.58±0.53, 0.71±0.45 ซม.) และ 200 มก./ล. (0.51±0.52, 0.63±0.60 ซม.) ตามลําดับ น้ำหนักดีที่สุดอยู่ที่ความเข้มข้น 800 มก./ล. (0.0426±0.02 กรัม) รองลงมาคือ 0 มก./ล. (0.0274±0.01 กรัม), 400 มก./ล. (0.0219±0.00 กรัม), 600 มก./ล. (0.0174±0.00 กรัม) และ 200 มก./ล. (0.0098±0.00 กรัม) ตามลําดับ ลูกปลาลงพื้นครบทุกตัวทุกชุดการทดลองที่อายุ 22 วัน และลูกปลาแมนดารินเริ่มมีการลงพื้นเร็วที่สุดที่อายุ 7 วัน ในการทดลองที่ 3 เป็นการศึกษาผลของการเสริมวิตามินซีที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกันคือ 0, 100, 200 และ 300 มก./ล. ผลการวิจัยพบว่าระดับความเข้มข้นของกรดไขมันเตรียมเองไม่มีผล ต่ออัตราการรอดตาย อัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการพัฒนาการของลูกปลา (p>0.05) อัตรารอดที่ดีที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 0 มก./ล. (8.00±3.60%) รองลงมาคือ 100 มก./ล. (6.00±3.60%), 300 มก./ล. (3.66±2.66%) และ 200 มก./ล. (1.00±1.00%) ตามลําดับ การ เจริญเติบโตด้านความยาวมาตรฐานและความยาวทั้งหมดดีที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. (1.00±1.00, 1.16±3.09 ซม.) รองลงคือ 0 มก./ล. (0.80±3.60, 0.99±1.52 ซม.), 100 มก./ล. (0.60±3.60, 1.06±2.22 ซม.) และ 300 มก./ล. (0.37±2.66, 0.97±1.80 ซม.) ตามลําดับ น้ําหนักดี ที่สุดอยู่ที่ความเข้มข้น 300 มก./ล. (0.053±0.02 กรัม) รองลงมาคือ 200 มก./ล. (0.041±0.02 กรัม), 100 มก./ล. (0.0363±0.002 กรัม) และ 0 มก./ล. (0.0245±0.01 กรัม), และ ตามลําดับ ลูก ปลาลงพื้นครบทุกตัวทุกชุดการทดลองที่อายุ 20 วัน และลูกปลาแมนดารินเริ่มมีการลงพื้นเร็วที่สุดที่ อายุ 11 วัน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล(งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กรดไขมัน |
th_TH |
dc.subject |
ปลาแมนดาริน |
th_TH |
dc.subject |
แพลงก์ตอน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
ผลของการเสริมกรดไขมันและวิตามินซีลงในแพลงก์ตอนสัตว์ต่ออัตรารอด การเจริญเติบโต และพัฒนาการของลูกปลาแมนดาริน, Synchiropus splendidus (Herre,1927) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Effects of fatty acid and vitamin C enrichment in zooplankton on survival rate, growth and development of the Mandarinfish larvae, Synchiropus splendidus (Herre,1927) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of the present study was to examine levels of fatty acid (FA) and vitamin C enrichment in rotifers (Brachionus plicatilis) and Artemia and their effect on survival, growth, larval development and metamorphosis of mandarinfish (Synchiropus splendidus). The 100 larvae (20 larvae/l) were reared in 5 l of 33-34 ppt. seawater for a period of 45 days. The treatment had 3 replications. All treatments, the fish aged between 1-20 days old were fed with rotifers at a ratio of 20 individuals/ml and then they were switched to Artemia at a ratio of 3 individuals/ml from day 21 onwards. Experiment 1 for testing the effect of enriched with faffy acid by Easy DHA Selco at different levels 0, 200, 400, 600 and 800 mg/l. There were no significant differences (p>0.05) between the treatments in their survival, growth and larval development. The larvae that were fed the enriched-live feeds at a ratio of 600 mg/l showed the highest survival rate (i.e. 7.00±5.57%), followed by those fed the 400 mg/l (6.33±3.51%), 800 mg/l (4.33±2.52%), 0 mg/l (3.33±2.08%) and 200 mg/l. (2.00±1.00%) diets respectively. The highest standard and total lengths of the larvae were found in those fed the 200 mg/l (0.84±0.58 cm, 1.09±0.75 cm), followed by those fed at 0 mg/l (0.76±1.39 cm, 0.93±1.73 cm), 400 mg/l (0.66±1.24 cm, 0.85±2.05 cm), 600 mg/l (0.63±0.89 cm, 0.81±0.19 cm) and 800 mg/l (0.58±0.24 cm, 0.73±0.47 cm) respectively. The larvae fed at 200 mg/l also had the highest average weight (0.11±0.15 g). All the larvae completed their metamorphosis within 26 days, with the first larvae recorded as completing their metamorphosis on day 11. Experiment 2 for testing the effect of enriched with fatty acid at different levels 0, 200, 400, 600 and 800 mg/l. There were no significant differences (p>0.05) between the treatments in their survival, growth and larval development. The larvae that were fed the enriched-live feeds at a ratio of 800 mg/l showed the highest survival rate (4.33±2.33%), followed by those fed the 600 mg/l (1.67±0.33%), 400 mg/l (1.67±0.33%), 200 mg/l (1.67±0.67%) and 0 mg/l. (1.00±0.00%) diets respectively. The highest standard and total lengths of the larvae were found in those fed the 400 mg/l (0.67±0.51 cm, 0.83±0.50 cm), followed by those fed at 0 mg/l (0.67±0.79 cm, 0.78±0.81 cm), 600 mg/l (0.59±0.32 cm, 0.74±0.43 cm.), 800 mg/l (0.58±0.53 cm,0.71±0.45 cm) and 200 mg/l (0.51±0.52 cm, 0.63±0.60 cm) respectively. The larvae fed at 800 mg/l also had the highest average weight (0.0426±0.02 g) followed by those fed at 0 mg/l (0.0274±0.01 g), 400 mg/l (0.0219±0.00 g), 600 mg/l (0.0174±0.00
and 200 mg/l. (0.0098±0.00 g) respectively. All The larvae completed their metamorphosis within 22 days, with the first larvae recorded as completing their metamorphosis on day 7. Experiment 3 for testing the effect of enriched with vitamin C at different levels 0, 100, 200 and 300 mg/l. There were no significant differences (p>0.05) between the treatments in their survival, growth and larval development. The larvae that were fed the enriched-live feeds at a ratio of 0 mg/l showed the highest survival rate (8.00±3.60%), followed by those fed the 100 mg/l (6.00±3.60%), 300 mg/l (3.66±2.66%) and 200 mg/l. (1.00±1.00%) diets respectively. The highest standard and total lengths of the larvae were found in those fed the 200 mg/l (1.00±1.00 cm, 1.16±3.09 cm), followed by those fed at 0 mg/l (0.80±3.60 cm, 0.99±1.52 cm), 100 mg/l (0.60±3.60 cm, 1.06±2.22 cm.) and 300 mg/l (0.37±2.66 cm, 0.97±1.80 cm) respectively. The larvae fed at 300 mg/l also had the highest average weight (0.053±0.002 g) followed by those fed at 200 mg/l. (0.041±0.02 g) ,200 mg/l (0.041±0.02 g), 100 mg/l. (0.0363±0.002 g) and 0 mg/l. (0.0245±0.01 g) respectively. All The larvae completed their metamorphosis within 20 days, with the first larvae recorded as completing their metamorphosis on day 11. |
en |