dc.contributor.author |
ปริญญา ชินดุษฎีกุล |
th |
dc.contributor.author |
เมธินี จามกระโทก |
th |
dc.contributor.author |
พิมพ์ทอง ทองนพคุณ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:09:58Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:09:58Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1927 |
|
dc.description.abstract |
โมกุเม่กาเน่เป็นเทคนิคในการทำเครื่องประดับโดยใช้โลหะที่มีสีสันต่างกันมาเรียงกันเป็นชั้น ๆ และทำให้เกิดเป็นลวดลายที่มีลักษณะพิเศษ แผ่นโลหะแพลเลเดียม 500 (แพลเลเดียม 50%wt : เงิน 50%wt) แผ่นเงินสเตอร์ลิง (เงิน 96.5%wt: ทองแดง 3.5%wt) และแผ่นทองแดง ถูกเชื่อมติดกันเป็นแท่งโลหะด้วยกระบวนการแพร่โดยใช้อุณหภูมิ 750oC ระยะเวลา 5, 10 และ 15 ชั่วโมง ด้วยเตาไฟฟ้า ทำการเปรียบเทียบโดยใช้สภาวะบรรยากาศออกซิเดชั่นและรีดักชั่นเพื่อดูความแตกต่างระหว่างผิวรอยต่อของโลหะ รูปถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์แสงบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นโลหะเงินสเตอร์ลิงและแผ่นทองแดงมีลักษณะเหมือนกันในทุกการทดลอง แต่บริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นโลหะแพลเลเดียม 500 และแผ่นเงินสเตอร์ลิง ที่อุณหภูมิ 750oC ในบรรยากาศแบบออกซิเดชั่นพบออกไซด์ทองแดงในเนื้อโลหะเงินสเตอร์ลิงมีลักษณะเป็นจุดสีดำซึ่งเป็นสาเหตุให้ความวาวของโลหะเงินสเตอร์
ลิงหายไป ความหนาของชั้นออกไซด์ทองแดงขึ้นกับระยะเวลาในการยืนอุณหภูมิ รูปถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์แสงในบริเวณรอยต่อระหว่างแพลเลเดียม 500 และทองแดงมีลักษณะเดียวกันในทุกการทดลอง ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของธาตุจากภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแสดงให้เห็นลักษณะการแพร่ของโลหะที่บริเวณรอยต่อ การแพร่ของโลหะมากขึ้นเมื่อระยะเวลาในการยืนอุณหภูมิมากขึ้น ในขั้นตอนของการทำลวดลายบนแผ่นโลหะ การให้ความร้อนชิ้นงานก่อนการรีดมีความสำคัญมาก เนื่องจากชั้นของโลหะจะเกิดการแยกออกจากกันขณะที่ทำการรีดแม้ว่าจะเป็นชิ้นงานที่ใช้ระยะเวลาในการยืนอุณหภูมินานก็ตาม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
ทองแดง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
อัญมณี |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องประดับ |
th_TH |
dc.subject |
เงินสเตอร์ลิง |
th_TH |
dc.subject |
โลหะแพลเลเดียม |
th_TH |
dc.title |
การผลิตเครื่องประดับโมกุเม่กาเน่ด้วยโลหะแพลเลเดียมเงินสเตอร์ลง และทองแดง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Mokume gane jewelry making by palladium, sterling silver and copper. |
th_TH |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
Mokume Gane is a jewelry technique for laminating various colors of metals together to form a billet in order to create the special pattern. The metals, palladium500 (50%wt Pd and 50%wt Ag), sterling silver (96.5%wt Ag and 3.5%wt Cu) and copper plates were joined by diffusion welding at 750oC for 5, 10 and 15 hours in electronic furnace to make the billet. The oxidation and reduction environment conditions were experimented to compared the interface region between the difference metals. The optical microscope picture of contact region between sterling silver and copper were not difference in every conditions. The contact region between
palladium 500 and sterling silver in oxidation condition at 750oC showed the black spot of copper oxide in the sterling silver that causing the disappear of sterling silver luster. The thickness of copper oxide depended on prolonged heating. The optical microscope pictures of palladium 500 and copper contact showed the same characteristic. The results from Scanning Electron
Microscope/Energy dispersive spectrometer (SEM/EDS) images showed the diffusion pattern of
metal at interface region and the diffusion of metals depended on soaking time. To making the
pattern of metal sheet, the annealing of sample before the rolling is very importance. Although
the billet was heated for a long time, the metal layers may be slip in the rolling step |
en |