dc.contributor.author |
ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข |
th |
dc.contributor.author |
ภาณุวัฒน์ เชิดเกียรติกูล |
th |
dc.contributor.author |
ปณิตา วรรณพิรุณ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:44Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:44Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1810 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบรูปแบบการเรียนรู้ของผู้สูงอายุเพื่อ ส่งเสริมภาวะพฤฒพลัง โดยคัดสรรชุมชนวัดตาลล้อม ในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี เป็นพื้นที่ในการศึกษา เลือกกลุ่มตัวอย่างที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้จํานวน 35 คน เก็บข้อมูล โดยการสนทนากลุ่ม และสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามเพื่อประเมินภาวะพฤฒพลังก่อนการเรียนรู้ และ หลังจากการเรียนรู้เป็นเวลา 1 และ 4 สัปดาห์ ตามลําดับ ทําการประเมินรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านพฤฒพลังและด้านการศึกษา จํานวน 5 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติอ้างอิงในรูปของการวิเคราะห์การแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (Repeated measures ANOVA) ผลการทดสอบรูปแบบโดยการนําไปทดลองใช้พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยของภาวะพฤฒพลัง หลังการเรียนรู้เป็นระยะเวลา 1 และ 4 สัปดาห์ สูงกว่าก่อนการเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.001) และผลการประเมินรับรองรูปแบบโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญพบระดับความเหมาะสมของรูปแบบอยู่ในระดับมาก ( X = 4.38, S.D. = 0.76) และผู้ประเมินได้รับรองความเหมาะสมของการนํารูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมภาวะพฤฒพลังไปใช้อยู่ในระดับมาก ( X = 4.00 S.D. = 0.0) โดยมีข้อเสนอแนะให้ปรับปรุงรูปแบบโดยกําหนดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของการเรียนรู้ไว้ด้วยเพื่อให้เกิด ความต่อเนื่องในการพัฒนาภาวะพฤฒพลัง ส่วนการนํารูปแบบไปใช้มีข้อเสนอแนะดังนี้คือ 1) ควรคัด สรรชุมชนที่มีผู้นำชุมชนที่มีศักยภาพสูง 2) ควรคัดสรรชุมชนที่มีแกนนําผู้สูงอายุ 3) ควรมีบุคลากรที่ ดําเนินงานเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการจัดกิจกรรม เช่น นักวิชาการสาธารณสุข นักสังคมสงเคราะห์ และ 4) ควรมีการจัดสรรงบประมาณเป็นค่าดําเนินการจัดกิจกรรม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
ภาวะพฤฒพลัง |
th_TH |
dc.subject |
รูปแบบการเรียนรู้ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
โครงการ การพัฒนาการเรียนรู้และอาชีพของผู้สูงอายุ: การทดสอบรูปแบบการเรียนรู้ของผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมภาวะพฤฒพลัง |
th_TH |
dc.title.alternative |
The development of learning and occupation for the elderly: Validation of the learning model to enhance active ageing |
en |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
A mixed method research design aimed to validate the learning model to enhance active ageing level among the elderly in Saensuk Municipality, Chon Buri province. The model was constructed based on lifelong learning concept and educational gerontology. The study’s subjects were comprised of 35 elderly people in Wat Tanlom community. Data were collected by focus group discussion, interviews, and questionnaires. The active ageing levels were assessed prior to, one week, and one month after the learning activities. Model validation was implemented by using expert opinion. Descriptive statistics and repeated measures ANOVA were used for data analyses. The results revealed that mean active ageing level increased significantly (p<0.001) 1 week, and 4 weeks after participation of the learning activities. Experts had a consensus that the model was appropriate at a high level ( X = 4.38, S.D. = 0.76), and that the model was suitable for implementation at a high level ( X = 4.00 S.D. = 0.0), with recommendation to improve the model constructs by setting up the behavioral objectives of learning to achieve the continuity of active aging status. Recommendations for model application includes: community selection in which the community leaders are active, availability of key persons and responsible authorities such as public health professionals and social workers, and budget allocation to implement the activities. |
en |