Abstract:
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการแพร่ กระจายของหญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides) หญ้าผมนาง (Halodule piniforia) และ ความสัมพันธ ระหว างการแพร ่กระจายของหญ้าทะเลอินทรียวัตถุ ฃนิดของอนุภาคดิน และปัจจัยแวดล้อม ทำการศึกษาบริเวณโครงการพระราชดำริอ่ าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี การศึกษาครั้งนี้เก็บตัวอย่ างในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ การเก็บพารามิเตอร ์เหล ่านั้นทำโดยการกำหนดเส้นสำรวจ (Line transect) ผลการทดลองพบว่ าหญ้าคาทะเลกระจายตัวอยู ่บริเวณด้านทิศใต้ของพื้นที่การสำรวจ ในขณะที่หญ้าผมนางกระจายตัวอยู่ บริเวณด้านทิศเหนือค อนต่ำลงมาทางด้านตะวันออกของพื้นที่การสำรวจ ค่ าเฉลี่ยเปอร์ เซนต์ Sand:Silt:Clay ในบริเวณด้านทิศตะวันออก ตอนกลาง และ บริเวณด้านตะวันตกของพื้นที่ศึกษามีค าเฉลี่ยเท่ ากับ 73:24:3, 71:26:3 และ 70:27:3 เปอร เซ็นต์ ตามลำดับ อินทรีย์วัตถุในบริเวณด้านทิศตะวันออก ตอนกลาง และ บริเวณด้านตะวันตกของพื้นที่ศึกษามีค่ าเฉลี่ยเท ่ากับ 0.85±0.41, 0.72±0.33 และ 0.81±0.28 เปอร เซ็นต์ ตามลำดับ
ความสัมพันธ์ ระหว ่างบริเวณที่พบการแพร่ กระจายของหญ้าคาทะเลกับอินทรีย์ วัตถุ หญ้าคาทะเลและอนุภาคดินทราย หญ้าทะเลและอนุภาคดินร่ วน หญ้าคาทะเลและอนุภาคดินเหนียว หญ้าทะเลและ ORP หญ้าทะเลและ pH มีค่ าเท ากับ 0.0224, -0.17 0.0295 0.361 -0.0908 และ 0.0878 ตามลำดับ ในขณะ
ที่ความสัมพันธ ระหว่ างบริเวณที่พบการแพร่ กระจายของหญ้าผมนางกับอินทรีย์ วัตถุ หญ้าผมนางและอนุภาคดินทราย หญ้าผมนางและอนุภาคดินร่ วน
หญ้าผมนางและ pH มีค ่าเท ่ากับ 0.102, -0.313, 0.225 และ -0.262 ตามลำดับ ผลการศึกษาการแพร่ กระจายของหญ้าทะเล และความสัมพันธ์ กับปัจจัย
สิ่งแวดล้อมสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในการบริหารจัดการแบบบูรณาการระหว่ างหญ้าทะเล และความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิเวศน ชายฝั่งเพื่อให้เกิด
ประโยชน์ สูงสุดต ่อประชาชนที่ได้ใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรรอบอ่ าวคุ้งกระเบนอย ่างยั่งยืนต่ อไป
This research aimed to investigate distribution of seagrass (Enhalus acoroides), (Halodule piniforia) and relationship between distribution of seagrass, organic matter, soil texture and environmental parameter at Kung Krabaen Bay, Chanthaburi Province. Samples and environmental data had been collected on July 2014. Line transect had been used for data survey and collection. Result of the study showed that E. acoroides had distributed at south part of the study area and H. piniforia had distributed at northeastern part of the study area. The average percentages of sand:silt:clay at eastern, central and western parts of study area were 73:24:3, 71:26:3 and 70:27:3, respectively.
The averages of organic matters at eastern, central and western parts of study area were 0.85±0.41, 0.72±0.33 and 0.81±0.28%, respectively. The correlation coefficients between distribution of E. acoroides and organic matter, distribution of seagrass and percentage
of sand, distribution of seagrass and percentage of silt, distribution of seagrass and percentage of clay, distribution of seagrass and ORP and distribution of seagrass and pH were 0.0224, -0.17 0.0295, 0.361, -0.0908 and 0.0878, respectively. The correlation
coefficients between distribution of H. piniforia and organic matter, distribution of seagrass and percentage of sand, distribution of seagrass and percentage of silt and distribution of seagrass and pH were 0.102, -0.313, 0.225 and -0.262, respectively. Consequences of this study were used for seagrass management at Kung Krabaen Bay as primary producer for marine life in this area.