dc.contributor.author |
ศิริวรรณ ชูศรี |
th |
dc.contributor.author |
เสาวภา สวัสดิ์พีระ |
th |
dc.contributor.author |
ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน |
th |
dc.contributor.author |
ศิรประภา ฟ้ากระจ่าง |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:35Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:35Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1703 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของการอนุบาลลูกปลาแมนดารินด้วยโรติเฟอร์และอาร์ทีเมียที่เสริมด้วยกรดไขมันสำเร็จรูปในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ที่มีผลต่ออัตรารอด อัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการพัฒนาการของลูกปลาแมนดารินตั้งแต่แรกฟักจนถึงระยะที่มีการเปลี่ยนรูปร่าง (metamorphosis) ทำ
การทดลองทั้งหมด 5 ชุดการทดลอง แต่ละชุดการทดลองทำ 3 ซ้า ซึ่งจะทำการเสริมกรดไขมันให้กับโรติเฟอร์และอาร์ทีเมียที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกันคือ 0, 200, 400, 600 และ 800 มิลลิกรัมต่อลิตร (มก./ล.) ความหนาแน่นของลูกปลา 20 ตัวต่อลิตร ปริมาตรน้ำที่ใช้จำนวน 5 ลิตร ความเค็มน้ำทะเลอยู่ที่ 33-34 ppt เมื่อลูกปลาอายุ 1-20 วัน ให้โรติเฟอร์เสริมกรดไขมันสำเร็จรูปที่ความหนาแน่น 20 ตัวต่อมิลลิลิตร และเมื่อลูกปลาอายุ 21 – 45 วัน เปลี่ยนจากโรติเฟอร์
เป็นอาร์ทีเมียเสริมกรดไขมันสำเร็จรูปที่ความหนาแน่น 3 ตัวต่อมิลลิลิตร ผลการวิจัยพบว่าระดับความเข้มข้นของกรดไขมันไม่มีผลต่ออัตราการรอดตาย อัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการพัฒนาการของลูกปลา (p>0.05) อัตรารอดที่ดีที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 600 มก./ล. (7.00±5.57%) รองลงมาคือ 400 มก./ล. (6.33±3.51%), 800 มก./ล. (4.33±2.52%), 0 มก./ล. (3.33±2.08%) และ 200 มก./ล. (2.00±1.00%) ตามลำดับ การเจริญเติบโตด้านความยาวมาตรฐานและความยาวทั้งหมดดีที่สุดอยู่ที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. (0.84±0.58, 1.09±0.75ซม.) รองลงมาคือ 0 มก./ล. (0.76±1.39, 0.93±1.73ซม.), 400 มก./ล. (0.66±1.24, 0.85±2.05ซม.), 600 มก./ล. (0.63±0.89, 0.81±0.19ซม.) และ 800 มก./ล. (0.58±0.24, 0.73±0.47ซม.) ตามลำดับ น้ำหนักดีที่สุดอยู่ที่ความเข้มข้น 200 มก./ล. (0.11±0.15 กรัม) ลูกปลาลงพื้นครบทุกตัวทุกชุดการทดลองที่อายุ 26 วัน และลูกปลาแมนดารินเริ่มมีการลงพื้นเร็วที่สุดที่อายุ 11 วัน
The objective of the present study was to examine levels of fatty acid (FA) enrichment in rotifers (Brachionus plicatilis) and Artemia and their effect on survival, growth, larval development and metamorphosis of mandarinfish (Synchiropus splendidus). The experimental design was 5×3 completely randomized design. The levels of FA fed to rotifers and Artemia were 0, 200, 400, 600 and 800 mg/l. The 100 larvae (20 larvae/l) were reared in 5 l of 33-34 ppt. seawater for a period of 45 days. All treatments, the fish aged between 1-20 days old were fed with rotifers at a ratio of 20 individuals/ml and then they were switched to Artemia at a ratio of 3 individuals/ml from day 21 onwards. There were no significant differences (p>0.05) between the treatments in their growth performance. The larvae that were fed the enriched-live feeds at a ratio of 600 mg/l showed the highest survival rate (i.e. 7.00±5.57%), followed by those fed the 400 mg/l (6.33±3.51%), 800 mg/l (4.33±2.52%), 0 mg/l (3.33±2.08%) and 200 mg/l. (2.00±1.00%) diets respectively. The highest standard and total lengths of the larvae were found in those fed the 200 mg/l (0.84±0.58 cm, 1.09±0.75 cm), followed by those fed at 0 mg/l (0.76±1.39 cm, 0.93±1.73 cm), 400 mg/l (0.66±1.24 cm, 0.85±2.05 cm), 600 mg/l (0.63±0.89 cm, 0.81±0.19 cm) and 800 mg/l (0.58±0.24 cm, 0.73±0.47 cm) respectively. The larvae fed at 200 mg/l also had the highest average weight (0.11±0.15 g). All the larvae completed their metamorphosis within 26 days, with the first larvae recorded as completing their metamorphosis on day 11. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กรดไขมัน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.subject |
แพลงก์ตอน |
th_TH |
dc.subject |
แมนดาริน |
th_TH |
dc.title |
ผลของการเสริมกรดไขมันและวิตามินซีลงในแพลงก์ตอนสัตว์ต่ออัตรารอด การเจริญเติบโต และพัฒนาการของลูกปลาแมนดาริน, Synchiropus splendidus (Herre,1927) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Effects of fatty acid and vitamin C enrichment in zooplankton on survival rate, growth and development of the mandarinfish larvae, Synchiropus splendidus (Herre,1927) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of the present study was to examine levels of fatty acid (FA) enrichment in rotifers (Brachionus plicatilis) and Artemia and their effect on survival, growth, larval development and metamorphosis of mandarinfish (Synchiropus splendidus). The experimental design was 5×3 completely randomized design. The levels of FA fed to rotifers and Artemia were 0, 200, 400, 600 and 800 mg/l. The 100 larvae (20 larvae/l) were reared in 5 l of 33-34 ppt. seawater for a period of 45 days. All treatments, the fish aged between 1-20 days old were fed with rotifers at a ratio of 20 individuals/ml and then they were switched to Artemia at a ratio of 3 individuals/ml from day 21 onwards. There were no significant differences (p>0.05) between the treatments in their growth performance. The larvae that were fed the enriched-live feeds at a ratio of 600 mg/l showed the highest survival rate (i.e. 7.00±5.57%), followed by those fed the 400 mg/l (6.33±3.51%), 800 mg/l (4.33±2.52%), 0 mg/l (3.33±2.08%) and 200 mg/l. (2.00±1.00%) diets respectively. The highest standard and total lengths of the larvae were found in those fed the 200 mg/l (0.84±0.58 cm, 1.09±0.75 cm), followed by those fed at 0 mg/l (0.76±1.39 cm, 0.93±1.73 cm), 400 mg/l (0.66±1.24 cm, 0.85±2.05 cm), 600 mg/l (0.63±0.89 cm, 0.81±0.19 cm) and 800 mg/l (0.58±0.24 cm, 0.73±0.47 cm) respectively. The larvae fed at 200 mg/l also had the highest average weight (0.11±0.15 g). All the larvae completed their metamorphosis within 26 days, with the first larvae recorded as completing their metamorphosis on day 11. |
en |