dc.contributor.author |
สมรัฐ ทวีเดช |
th |
dc.contributor.author |
วิรชา เจริญดี |
th |
dc.contributor.author |
ชนะ เทศคง |
th |
dc.contributor.author |
ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:34Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:34Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1685 |
|
dc.description.abstract |
จากการสำรวจปลาแมนดารินในตลาดขายปลา เป็นระยะเวลา 24 เดือน ระหว่างเดือนมกราคม 2556 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2558 พบปลาแมนดารินชนิด Green Mandarinfish (Synchiropus splendidus) มีปริมาณนำเข้าเฉลี่ย 112 ตัวต่อเดือน ราคาต่อตัวอย่างประมาณ 150-300 บาท พบว่ามีการนำเข้าปลาแมนดารินทั้งหมด 2,693 ตัว ส่วนใหญ่มาจากประเทศอินโดนีเซีย และประเทศฟิลิปปินส์ ความชุกของการเกิดโรคทั้งหมด 4.72% โดยโรคที่พบสูงสุด คือ การติดเชื้อโปรโตซัวจุดขาวน้ำเค็ม (Cryptocaryon irritans) 3.08% การติดเชื้อแบคทีเรีย 0.71% การติดเชื้อโปรโตซัวเห็บระฆัง 0.22% และการติดเชื้อปรสิตภายนอก (External parasite) ในกลุ่ม Monogenean 0.19% ตามลำดับ ส่วนการศึกษาโรคจากปลาแมนดารินที่นำเข้ามาใหม่ และปลาแมนดารินที่มีอยู่ในสถานที่เพาะเลี้ยง แบ่งเป็น 2 ประเภท พบโรคไม่ติดเชื้อ (Non-infectious disease) จากปัญหาการจัดการ คุณภาพน้ำ หรืออุบัติเหตุ โรคติดเชื้อ (Infectious disease) ที่พบคือ เชื้อโปรโตซัวเห็บระฆัง การติดเชื้อโปรโตซัวจุดขาวน้ำเค็ม (C. irritans) เชื้อโปรโตซัว Amyloodinium ocellatum ส่วนปรสิตภายนอกที่ตรวจพบคือพยาธิในกลุ่ม Monogenean และปรสิตภายใน (Internal parasite) ที่ตรวจพบคือ กลุ่มพยาธิตัวกลม (Nematodes) และกลุ่มพยาธิตัวแบน (Trematode) รวมถึงการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp. ซึ่งเป็นทั้งสาเหตุหลักของการตายและการติดเชื้อแทรกซ้อน จากผลการศึกษาการกักโรค ในกลุ่มที่ไม่มีการใส่สารเคมี ตรวจพบเชื้อในวันที่ 21 และ 28 กลุ่มที่ใส่ยาเหลืองญี่ปุ่น ตรวจพบเชื้อวันที่ 14 กลุ่มที่ใส่ Copper citrate ไม่พบปรสิตใด ๆ และกลุ่มที่ใส่ระบบบำบัดน้ำ ตรวจพบเชื้อวันที่ 7, 14, 21 และ 28 ซึ่งเชื้อก่อโรคส่วนใหญ่ที่ตรวจพบคือเชื้อโปรซัว Amyloodinium ocellatum และพบการติดเชื้อโปรโตซัว C. irritans ร่วม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ผ่านงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2557 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ปลาแมนดาริน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การสำรวจความชุกและโอกาสเกิดโรคในปลาแมนดาริน Synchiropus splendidus (Herre, 1927) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Disease surveillance and incidence of Mandarinfish, Synchiropus splendidus herre, 1927) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
The survey of Mandarinfish (Synchiropus splendidus) in the fish market, data from a questionnaire and ill fish sampling was collected between January 2013 to February 2015. Green Mandarinfish were mostly found in this survey and imports from Indonesia and Philippines averaged 112 per month, about 150-300 bath per sample. 2,693 Mandarinfish derived from the questionnaire. The prevalences of all infection is 4.72% and consists of marine white spot disease (3.08%), Bacterial infection (0.71%) , Trichodinosis (0.22%), and monogenean infestation (0.19%) respectively. In this surveyed, disease of Mandarinfish from fish market and hatcheries were divided into 2 categories: non-infectious disease and infectious disease. Non-infectious disease are caused by many factor such as inappropriate management, poor water quality, and accidents. Pathogenic microorganism caused of infectious disease such as Trichodina sp., Cryptocaryon irritans,
Amyloodinium ocellatum, monogenean infestation, Nematodes (roundworm), Trematode (fluke), and opportunistic bacterial infection (Vibrio spp.). From the results of quarantine plans, all of nonchemical groups were found Amyloodinium ocellatum infestation after 7 to 28 days, whereas copper citrate groups were not found |
en |