dc.contributor.author |
อาภรณ์ ดีนาน |
|
dc.contributor.author |
สมสมัย รัตนกรีฑากุล |
|
dc.contributor.author |
สงวน ธานี |
|
dc.contributor.author |
วชิราภรณ์ สุมนวงศ์ |
|
dc.contributor.author |
ชัชวาล วัตนะกุล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:33Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:33Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1678 |
|
dc.description.abstract |
การฟื้นฟูสมรรรภาพหัวใจในผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงมานานจะทำให้สามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนและทาให้พยาธิสภาพที่หัวใจและหลอดเลือดทุเลาความรุนแรงลงรวมทั้งเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบผลของ
โปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง คณะวิจัยพัฒนำโปรแกรมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยมีเนื้อหาเป็นการชี้แนะด้านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโ ลหิตสูง จำนวน 30 ราย คัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ แบบสอบถามคุณภาพชีวิตและอุปกรณ์นับก้าว (Garmin, Viofit) กลุ่มตัวอย่างที่สมัครใจเข้าร่วมวิจัย ได้รับโปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงนาน 4 สัปดาห์ ๆ ละ 2 ครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนคุณภาพชีวิตและจำนวนก้าวเดินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ส่วนคะแนนพฤติกรรมสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การปฏิบัติตนตามแผนการรักษาและควบคุมปัจจัยเสี่ยง (p< .001) พฤติกรรมการเคลื่อนไหวและออกกำลังกาย (p< .001) แต่พฤติกรรมการรับประทานอาหารเฉพาะโรค การดื่มเครื่องดื่มที่เสี่ยงต่อสุขภาพ การจัดการภาวะเครียดและการดูแลตนเองโดยทั่วไป พบว่าไม่แตกต่างจากก่อนเข้าโปรแกรม (p> .05)
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สร้างขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ สามารถนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้ดี ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตและสมรรถนะทางกาย ควรนำโปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงนี้ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่ขึ้นและเป็นระยะเวลายาวนานขึ้น |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพชีวิต |
th_TH |
dc.subject |
ปัจจัยเสี่ยง |
th_TH |
dc.subject |
โรคความดันโลหิตสูง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (ระยะที่ 2) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Risk reduction and quality of life improvement for people with essential hypertension (Phase 2) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
Cardiac rehabilitation program can prevent complication, reduce disease progression, and improve quality of life by maintaining and resducing long-term pathology of heart and blood vessels in hypertensive people. The objective of this quasi experimental study was to develop and evaluate cardiac rehabilitation program for hypertensive people based on evidenced base practice. Based on evidence s, health
coach was applied to 30 hypertensive persons. The program includes 4 -week health coach on disease and health behavior modification. Thirty hypertensive persons were recruited based on inclusion criteria. Instruments included demographic, health b ehavior,
and quality of life questionnaires. Step counts were recorded using Garmin viofit. Participants participate in the 4 -week health coach program. Data were analyzed by descriptivestatistics and paired t-test. Results revealed that quality of life and stepcounts were significantly
improvement (p<.001). Exercise and physical activities and illness management were also significantly increasing (p<.001). However, specific eating behavior, risk drinking, stress management, and taking care of health were not significant differences (p>.05).
From research results, health coach program for hypertensive people was an effective program to improve quality of life and physical function. Further research should focus on larger sample size and longitudinal study. |
en |